การศึกษาความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา
Item
ชื่อเรือง
การศึกษาความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา
ชื่อเรื่องรอง
The Study of Mathematics Ability in Solving Word Problems by Using the SSCS Learning Process of Prathomsuksa 2 Students at Saint Joseph Bangna School
ผู้แต่ง
ขวัญฤทัย แก้วไพฑูรย์
หัวเรื่อง
การแก้โจทร์ปัญหาคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
คณิตศาสตร์
การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
รายละเอียดอื่นๆ
การจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคนิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเชฟ บางนา 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/6 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 27 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มห้องเรียน ด้วยวิธีการจับฉลาก จากจำนวนทั้งหมด 8 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่
1) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS
2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเทียบเกณฑ์การประเมิน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา นักเรียนมีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์
ร้อยละ 70
2. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนใช้การจัดการจัดการรียนรู้ ด้วยรูปแบบ SSCS มีความพึงพอใจในภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS
1) ศึกษาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคนิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเชฟ บางนา 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/6 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 27 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มห้องเรียน ด้วยวิธีการจับฉลาก จากจำนวนทั้งหมด 8 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่
1) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS
2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเทียบเกณฑ์การประเมิน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา นักเรียนมีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์
ร้อยละ 70
2. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนใช้การจัดการจัดการรียนรู้ ด้วยรูปแบบ SSCS มีความพึงพอใจในภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด
จิตตวิสุทธิ์ วิมุตติปัญญา
ประไพ ศรีดามา
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2565
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2567-10-02
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2567-10-02
วันที่เผยแพร่
2567-10-02
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คอลเลกชั่น
ขวัญฤทัย แก้วไพฑูรย์ .การศึกษาความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 23, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/3135