การพัฒนารูปแบบการจัดการบำรุงรักษาแผงโซล่าร์เซลล์ของโรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนารูปแบบการจัดการบำรุงรักษาแผงโซล่าร์เซลล์ของโรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
ชื่อเรื่องรอง
Development of Solar Panel Maintenance Management Model in Solar Power Plant
ผู้แต่ง
ทัพพ์ธนโชติ แผวสุวรรณ
หัวเรื่อง
โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์
การบำรุงรักษา--โรงงานผลิตไฟฟฟ้าแสงอาทิตย์
แผงโซล่าร์เซลล์
รายละเอียดอื่นๆ
งานวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยแผงโซล่าร์เซลล์ ทำการเก็บข้อมูลของปัญหาที่เกิดขึ้นโดยจัดทำเป็น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน พร้อมทั้งทำการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยเครื่องมือทางสถิติ 2) ศึกษาการบำรุงรักษาแผงโซล่าร์เซลล์และต้นทุนที่เกิดขึ้นก่อนการปรับปรุงศึกษาถึงเทคนิคการบำรุงรักษาการซ่อมแซมแก้ไขแผงโซล่าร์เซลล์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและในอนาคตพร้อมทั้งขั้นตอนสรุปจัดทำซ่อมบำรุงรักษา 3) พัฒนารูปแบบการจัด การบำรุงรักษาแผงโซล่าร์เซลล์ ออกแบบรูปแบบการป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นกับกระบวนการผลิตไฟฟ้าที่มีผลกับแผงโซล่าเชลล์ และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้มากที่สุดและควบคุมต้นทุนที่เกิดขึ้นให้อยู่ในขอบเขตที่กำหนดได้ 4) ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการบำรุงรักษาในแผงโซล่าร์เซลล์วิเคราะห์ข้อมูลจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญที่ทดสอบรูปแบบใหม่ของการป้องกันปัญหาและระบบอื่นๆ ที่ได้สร้างขึ้นโดยใช้หลักการทำงานจริงและเก็บข้อมูลก่อนทำและหลังทำเพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้จากการออกแบบการป้องกัน
ผลการศึกษาพบว่า
1. แนวทางในการพัฒนารูปแบบการป้องกันและออกแบบรูปแบบใหม่ในการช่วยสนับสนุนระบบการซ่อมบำรุงรักษาระบบแผงโซล่าร์เซลล์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยได้ออกแบบคำนวณระยะป้องกัน โดยศึกษา ทิศทางลม ระยะห่างของแผงสแลนกั้นระดับความร้อนซึ่งเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อการผลิตสามารถสร้างได้จริงในพื้นที่ทำงานจริงของบริษัทกรณีศึกษาโดยใช้พื้นที่ในการอออกแบบใช้พื้นที่กว้าง 1000 เมตร ยาว 1500 เมตร 1000 m x 1500 m2
2. การดำเนินการสร้างแผงสแลนเพื่อป้องกันฝุ่นละอองในบริเวณพื้นที่แผงโซล่าร์เซลล์ของโรงงานไฟฟ้า กรณีศึกษา ทำให้ปริมาณฝุ่นละอองที่เกาะบนผิวของแผงโซล่าเซลล์ในพื้นที่กรณีศึกษานั้นลดลงอย่างเห็นได้ชัด ในช่วงเดือน กันยายน – ธันวาคม 2561 มีค่าเฉลี่ยลดลงที่ 29.12 มก./ลบ.ม ลดลง 5.5 หน่วย ถึงแม้ว่าบางช่วงที่ทำการเก็บข้อมูลนั้น ค่าฝุ่นละอองจะมีค่าใกล้เคียงกับที่ยังไม่ได้ดำเนินการเปลี่ยนแปลงโครงการด้วยเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สามารถควบคุมได้และ สภาพอากาศค่อนข้างเหมือนเดิมที่ผ่านมาของทุกๆ ที่ทำให้ค่าฝุ่นละอองลดลงไม่มากจากเดิม และผลจากการลดลงนั้นทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงงาน กรณีศึกษา สามารถผลิตกระแสได้เพิ่มมากขึ้น ปัญหาการหยุดผลิตเพื่อนการซ่อมลดลง และยังสามารถลดต้นทุนการซ่อมบำรุงลงได้ และสามารถวางแผนซ่อมบำรุงรักษา และทำความสะอาดแผงโซล่าร์เซลล์ได้ในอนาคต
คำสำคัญ : การบำรุงรักษา, โซล่าร์เซลล์ ,ชุดป้องกันฝุ่นละอองสำหรับแผงโซล่าร์เซลล์
ผลการศึกษาพบว่า
1. แนวทางในการพัฒนารูปแบบการป้องกันและออกแบบรูปแบบใหม่ในการช่วยสนับสนุนระบบการซ่อมบำรุงรักษาระบบแผงโซล่าร์เซลล์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยได้ออกแบบคำนวณระยะป้องกัน โดยศึกษา ทิศทางลม ระยะห่างของแผงสแลนกั้นระดับความร้อนซึ่งเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อการผลิตสามารถสร้างได้จริงในพื้นที่ทำงานจริงของบริษัทกรณีศึกษาโดยใช้พื้นที่ในการอออกแบบใช้พื้นที่กว้าง 1000 เมตร ยาว 1500 เมตร 1000 m x 1500 m2
2. การดำเนินการสร้างแผงสแลนเพื่อป้องกันฝุ่นละอองในบริเวณพื้นที่แผงโซล่าร์เซลล์ของโรงงานไฟฟ้า กรณีศึกษา ทำให้ปริมาณฝุ่นละอองที่เกาะบนผิวของแผงโซล่าเซลล์ในพื้นที่กรณีศึกษานั้นลดลงอย่างเห็นได้ชัด ในช่วงเดือน กันยายน – ธันวาคม 2561 มีค่าเฉลี่ยลดลงที่ 29.12 มก./ลบ.ม ลดลง 5.5 หน่วย ถึงแม้ว่าบางช่วงที่ทำการเก็บข้อมูลนั้น ค่าฝุ่นละอองจะมีค่าใกล้เคียงกับที่ยังไม่ได้ดำเนินการเปลี่ยนแปลงโครงการด้วยเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สามารถควบคุมได้และ สภาพอากาศค่อนข้างเหมือนเดิมที่ผ่านมาของทุกๆ ที่ทำให้ค่าฝุ่นละอองลดลงไม่มากจากเดิม และผลจากการลดลงนั้นทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงงาน กรณีศึกษา สามารถผลิตกระแสได้เพิ่มมากขึ้น ปัญหาการหยุดผลิตเพื่อนการซ่อมลดลง และยังสามารถลดต้นทุนการซ่อมบำรุงลงได้ และสามารถวางแผนซ่อมบำรุงรักษา และทำความสะอาดแผงโซล่าร์เซลล์ได้ในอนาคต
คำสำคัญ : การบำรุงรักษา, โซล่าร์เซลล์ ,ชุดป้องกันฝุ่นละอองสำหรับแผงโซล่าร์เซลล์
บทคัดย่อ
The purposes of this research were to 1) Study the condition and problems of electricity production with solar cell. Data collection of problems by preparing daily, weekly, monthly As well as analyza the cause of the problems with statiscal tools, 2) Study on solar cell maintenance and costs incurred before the improvement. Study the techniques of maintenance, repair and fix solar cell that occur today and in the future. As well as a summary step for repair, maintenance. 3) Develop organizing formats Maintenance of solar cell. Design patterns to prevent problems that occur with the electricity production process affecting the solar cell and can solve the most current problems and control the costs that occur to the extent that can be determined, 4) Assess the effectiveness of the model Maintenance management in solar cells analyze data and expert evaluations that test new form of problem prevention and other systems that have been created by using real working principles and collecting data before and after to compare the results of protection.
The findings were found as follows:
1. Approach to the development of new form of protection and design to help support the maintenance of PV Module systems to be more effective by designing preventive calculations from studying wind direction and distance of the land heat panel level which all these have an impact on production. It Can be created in the actual work area of the case study company by using space in the design, a space of 1,000 meters wide, 1,500 meters long (1000 m x 1500 m)
2. The construction of a slan sheet to prevent dust in the PV Module area in the case of the case study solar power plant, the amount of dust collected on the surface of the solar cell panel area decreased significantly during September - December 2018, with an average of 29.12 mg / m3 or 5.5 units Although some of the data collected themeasured dust values are close to those that have not yet been implemented. Also due to the uncontrollable environment and the weather is quite the same as in the past of everywhere, causing the dust to drop a lot from the original and the result of the reduction that makes the electricity production efficiency of the case study solar cell plants could produce more current. The problem of stopping production for repair is reduced and could also reduce maintenance costs and can plan, repair, maintain and clean the solar panels in the future.
Keywords: Maintenance, Solar cell, Dust protection kits for PV module
The findings were found as follows:
1. Approach to the development of new form of protection and design to help support the maintenance of PV Module systems to be more effective by designing preventive calculations from studying wind direction and distance of the land heat panel level which all these have an impact on production. It Can be created in the actual work area of the case study company by using space in the design, a space of 1,000 meters wide, 1,500 meters long (1000 m x 1500 m)
2. The construction of a slan sheet to prevent dust in the PV Module area in the case of the case study solar power plant, the amount of dust collected on the surface of the solar cell panel area decreased significantly during September - December 2018, with an average of 29.12 mg / m3 or 5.5 units Although some of the data collected themeasured dust values are close to those that have not yet been implemented. Also due to the uncontrollable environment and the weather is quite the same as in the past of everywhere, causing the dust to drop a lot from the original and the result of the reduction that makes the electricity production efficiency of the case study solar cell plants could produce more current. The problem of stopping production for repair is reduced and could also reduce maintenance costs and can plan, repair, maintain and clean the solar panels in the future.
Keywords: Maintenance, Solar cell, Dust protection kits for PV module
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อัจฉรา ผ่องพิทยา
นุกูล สาระวงศ์
ณัฐดนัย สิงห์คลีวรรณ
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2562
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
รูปแบบ
thesis
แหล่งที่มา
วน 629.271 ท355ก 2562
ภาษา
Tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
การจัดการอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2562
คอลเลกชั่น
ทัพพ์ธนโชติ แผวสุวรรณ . (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการบำรุงรักษาแผงโซล่าร์เซลล์ของโรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 24, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1586