การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ถูกกลั่นแกล้ง โดยการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรม
Item
ชื่อเรือง
การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ถูกกลั่นแกล้ง โดยการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรม
ชื่อเรื่องรอง
Enhancing resilience of bullying high school students by cognitive behavior counseling group
ผู้แต่ง
นิศารัตน์ สุขตาม
หัวเรื่อง
จิตวิทยา
จิตวิทยา -- การศึกษาและการสอน
จิตวิทยาการปรึกษา
การปรึกษากลุ่ม
ทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรม
Cognitive Behavior Counseling Group
Enhancing Resilience
Bullying
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความเข้มแข็งทางใจ
ของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกลังกลุ่มทดลองก่อนและหลังได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิด
และพฤติกรรม และ 2) เปรียบเทียบความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกล้งระหว่างกลุ่มทดลอง ที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรมกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 16 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ที่มีคะแนนความเข้มแข็งทางใจต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ลงมา แล้วสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษากลุ่มและกลุ่มควบคุมได้รับการดูแล แบบปกติตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1 แบบคัดกรองพฤติกรรมการถูกกลั่นแกล้ง มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruence : 1OC) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 2) แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.96 และ 3) การให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรมมีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Item Objective Congruence : I0C) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 กรวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงเปรียบเทียบโดยใช้ Paired -Sample T-Test และ Independent T-Test
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกล้งกลุ่มทดลองหลังได้รับการปรึกษากลุ่ม
ตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรมมีความเข้มแข็งทางใจแตกต่างจากก่อนการเข้าร่วมการปรึกษากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2. ความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกล้งระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่ม
ตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรม และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ มีความเข้มแข็งทางใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
คำสำคัญ : ความเข้มแข็งทางใจ นักเรียนถูกกลั่นแกลัง การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎี
การรู้คิดและพฤติกรรม
ของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกลังกลุ่มทดลองก่อนและหลังได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิด
และพฤติกรรม และ 2) เปรียบเทียบความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกล้งระหว่างกลุ่มทดลอง ที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรมกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 16 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ที่มีคะแนนความเข้มแข็งทางใจต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ลงมา แล้วสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษากลุ่มและกลุ่มควบคุมได้รับการดูแล แบบปกติตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1 แบบคัดกรองพฤติกรรมการถูกกลั่นแกล้ง มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruence : 1OC) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 2) แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.96 และ 3) การให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรมมีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Item Objective Congruence : I0C) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 กรวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงเปรียบเทียบโดยใช้ Paired -Sample T-Test และ Independent T-Test
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกล้งกลุ่มทดลองหลังได้รับการปรึกษากลุ่ม
ตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรมมีความเข้มแข็งทางใจแตกต่างจากก่อนการเข้าร่วมการปรึกษากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2. ความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนที่ถูกกลั่นแกล้งระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่ม
ตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรม และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ มีความเข้มแข็งทางใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
คำสำคัญ : ความเข้มแข็งทางใจ นักเรียนถูกกลั่นแกลัง การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎี
การรู้คิดและพฤติกรรม
บทคัดย่อ
The purpose of this quasi-experimental research were to 1) compare the
enhancing resilience of students who were bullying in the experimental group
before and after receiving group counseling according to the Cognitive and
Behavioral Theory. 2) To compare the enhancing resilience of bullying students
between the experimental group receiving Cognitive Behavioral Theory Counseling
and the control group receiving conventional care. Methods: The subjects were
divided into 2 groups. The second group consisted of 16 subjects. (This group was
selected from those whose enhancing resilience was below the 25th percentile.)
They were randomly assigned into the experimental and control groups. The
experimental group received group counseling and the control group received
conventional care within the school system. 1) The bullying behavior screening
form had the lOC ranging from 0.67 - 1.00 1. The reliability of instrument, was
reported by Cronbach's Alpha as 0.96 and the construct validity was confirmed
through a factor analysis, 2. The group counseling model had the lOC ranging from
0.67-1.00. The descriptive, paired-Sample t-test ,and independent t-test were used
for data analysis.
The results revealed the followings
1. The enhancing resilience of students who were bullying in experimental
group after receiving the group counseling, according to the Cognitive and
Behavioral Theory, was significantly different from before participation than after
receiving the group counseling at the .01 level.
2. The enhancing resilience of students who were bullying during the
experimental group who then received counseling according to the Cognitive and
Behavioral Theory was significantly different from before participation than the
control group who did not receive counseling at the .05 level.
Key words : Enhancing Resilience, Bullying, Cognitive Behavior Counseling Group
enhancing resilience of students who were bullying in the experimental group
before and after receiving group counseling according to the Cognitive and
Behavioral Theory. 2) To compare the enhancing resilience of bullying students
between the experimental group receiving Cognitive Behavioral Theory Counseling
and the control group receiving conventional care. Methods: The subjects were
divided into 2 groups. The second group consisted of 16 subjects. (This group was
selected from those whose enhancing resilience was below the 25th percentile.)
They were randomly assigned into the experimental and control groups. The
experimental group received group counseling and the control group received
conventional care within the school system. 1) The bullying behavior screening
form had the lOC ranging from 0.67 - 1.00 1. The reliability of instrument, was
reported by Cronbach's Alpha as 0.96 and the construct validity was confirmed
through a factor analysis, 2. The group counseling model had the lOC ranging from
0.67-1.00. The descriptive, paired-Sample t-test ,and independent t-test were used
for data analysis.
The results revealed the followings
1. The enhancing resilience of students who were bullying in experimental
group after receiving the group counseling, according to the Cognitive and
Behavioral Theory, was significantly different from before participation than after
receiving the group counseling at the .01 level.
2. The enhancing resilience of students who were bullying during the
experimental group who then received counseling according to the Cognitive and
Behavioral Theory was significantly different from before participation than the
control group who did not receive counseling at the .05 level.
Key words : Enhancing Resilience, Bullying, Cognitive Behavior Counseling Group
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา สุทธิเนียม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลพร กองคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูวิทย์ รัตนพลแสนย์
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2565
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2567-05-28
วันที่เผยแพร่
2567-05-28
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 155.9042 น689ก 2565
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Degree (name, level, descipline, grantor)
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
ปริญญาโท
จิตวิทยาการปรึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คอลเลกชั่น
นิศารัตน์ สุขตาม, “การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ถูกกลั่นแกล้ง โดยการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการรู้คิดและพฤติกรรม”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed December 23, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/research/item/2926