ศึกษาซ้องกั๋ง : สืบสานวรรณกรรมอำนวยการแปลของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ให้ยั่งยืน
Item
ชื่อเรื่อง
ศึกษาซ้องกั๋ง : สืบสานวรรณกรรมอำนวยการแปลของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ให้ยั่งยืน
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประเภท
บทความ
ผู้แต่ง
สมปอง ดวงไสว
วันที่
2565-23-11
รายละเอียด
๑. อะไร คือ ซ้องกั๋ง ซ้องกั๋งคือ อะไร?
ซ้องกั๋ง มีความหมายอยู่สองประการ ประการแรก ซ้องกั๋งเป็นชื่อของตัวละครเอกหรือพระเอกในวรรณกรรม สุดยอดของจีน จากเรื่อง สุย หูจ้วน พงศาวดารชายน้ำ ซึ่งคนไทยนำมาแปล และนำชื่อตัวเอกมาตั้งเป็นชื่อเรื่องของวรรณกรรม ซ้องกั๋ง ประการที่สอง ซ้องกั๋ง เป็นชื่อของวรรณกรรมคลาสสิคของจีน เป็นเรื่องราวของช้องกั๋งและผองเพื่อนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมมารวมตัวกันต่อสู้กับรัฐที่ เต็มไปด้วยขุนนางกังฉิน เขารวมตัวกันอยู่ที่เขาเนียซัวเปาะหรือเขาเหลียงซาน มีจำนวนถึง ๑๐๘ คน ซ้องกั๋ง คนไทยอาจจะไม่ค่อยคุ้นชิน แต่ถ้าเอ่ยถึงผู้ยิ่งใหญ่แห่งเขาเหลียงซาน จะระลึกได้ วรรณกรรมซ้องกั๋ง เรียกตามภาษาแมนดารินว่าจุยฮือ และตัวซ้องกั๋ง ก็ เรียกว่า ซ่งเจียง ซ้องกั๋ง มีฉายาว่า "กิบสิโหว แปลว่า ฝนตกต้องตามฤดู" หรือ "ฝนทันใจ" ผู้ได้รับการยอมรับให้เป็นหัวหน้า เป็นเรื่องราวในประวัติศาสตร์สมัยราชวงศ์ ซ้อง เหตุเกิดที่มณฑลเหอหนานของจีน แต่ในประวัติศาสตร์กับนิยายมีความแตกต่างกัน ตรงที่ซ้องกั๋งในประวัติศาสตร์ถูกจับและถูกรัฐปราบทั้งหมด แตในนิยายได้กลับ เข้ามารับราชการอาสาปราบกบฎและสุดท้ายก็ถูกขุนนางกังฉินกำจัดหมดสิ้นเช่นกัน เป็นเรื่องเล่าที่สนุกสนานเป็นนิยายนิทานตำนานการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมของคน เล็กๆ ที่เป็นชาวนา คนหาปลา ชาวบ้าน ข้าราชการชั้นผู้น้อย ผู้เสียเปรียบในสังคม ช้องกั๋งคือชื่อพระเอกของวรรณกรรมจีน ในวรรณกรรมชั้นเลิศ เรื่อง ซ้องกั๋ง
ที่มา : สมปอง ดวงไสว. (2562). ศึกษาซ้องกั๋ง : สืบสานวรรณกรรมอำนวยการแปลของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ให้ยั่งยืน. ใน ศรีสมเด็จ 62 (137-150). สมาคมศิษย์เก่าบ้านสมเด็จ เจ้าพระยาในพระบรมชูปถัมภ์.
ซ้องกั๋ง มีความหมายอยู่สองประการ ประการแรก ซ้องกั๋งเป็นชื่อของตัวละครเอกหรือพระเอกในวรรณกรรม สุดยอดของจีน จากเรื่อง สุย หูจ้วน พงศาวดารชายน้ำ ซึ่งคนไทยนำมาแปล และนำชื่อตัวเอกมาตั้งเป็นชื่อเรื่องของวรรณกรรม ซ้องกั๋ง ประการที่สอง ซ้องกั๋ง เป็นชื่อของวรรณกรรมคลาสสิคของจีน เป็นเรื่องราวของช้องกั๋งและผองเพื่อนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมมารวมตัวกันต่อสู้กับรัฐที่ เต็มไปด้วยขุนนางกังฉิน เขารวมตัวกันอยู่ที่เขาเนียซัวเปาะหรือเขาเหลียงซาน มีจำนวนถึง ๑๐๘ คน ซ้องกั๋ง คนไทยอาจจะไม่ค่อยคุ้นชิน แต่ถ้าเอ่ยถึงผู้ยิ่งใหญ่แห่งเขาเหลียงซาน จะระลึกได้ วรรณกรรมซ้องกั๋ง เรียกตามภาษาแมนดารินว่าจุยฮือ และตัวซ้องกั๋ง ก็ เรียกว่า ซ่งเจียง ซ้องกั๋ง มีฉายาว่า "กิบสิโหว แปลว่า ฝนตกต้องตามฤดู" หรือ "ฝนทันใจ" ผู้ได้รับการยอมรับให้เป็นหัวหน้า เป็นเรื่องราวในประวัติศาสตร์สมัยราชวงศ์ ซ้อง เหตุเกิดที่มณฑลเหอหนานของจีน แต่ในประวัติศาสตร์กับนิยายมีความแตกต่างกัน ตรงที่ซ้องกั๋งในประวัติศาสตร์ถูกจับและถูกรัฐปราบทั้งหมด แตในนิยายได้กลับ เข้ามารับราชการอาสาปราบกบฎและสุดท้ายก็ถูกขุนนางกังฉินกำจัดหมดสิ้นเช่นกัน เป็นเรื่องเล่าที่สนุกสนานเป็นนิยายนิทานตำนานการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมของคน เล็กๆ ที่เป็นชาวนา คนหาปลา ชาวบ้าน ข้าราชการชั้นผู้น้อย ผู้เสียเปรียบในสังคม ช้องกั๋งคือชื่อพระเอกของวรรณกรรมจีน ในวรรณกรรมชั้นเลิศ เรื่อง ซ้องกั๋ง
ที่มา : สมปอง ดวงไสว. (2562). ศึกษาซ้องกั๋ง : สืบสานวรรณกรรมอำนวยการแปลของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ให้ยั่งยืน. ใน ศรีสมเด็จ 62 (137-150). สมาคมศิษย์เก่าบ้านสมเด็จ เจ้าพระยาในพระบรมชูปถัมภ์.
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
อ 378.593 ม246ศ 2562
ภาษา
tha
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวเรื่อง
นวนิยายจีน -- แปลเป็นไทย
วรรณกรรมจีน
นวนิยายอิงประวัติศาสตร์
คอลเลกชั่น
สมปอง ดวงไสว, “ศึกษาซ้องกั๋ง : สืบสานวรรณกรรมอำนวยการแปลของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ให้ยั่งยืน”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2565-23-11, คลังข้อมูลวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed December 24, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/research/item/2509