ความสามารถในการคิด วิเคราะห์วรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิดของลิมแบ๊กและวอร์ก
Item
ชื่อเรือง
ความสามารถในการคิด วิเคราะห์วรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิดของลิมแบ๊กและวอร์ก
ชื่อเรื่องรอง
The Analytical Thinking Ability of Mathayomsuksa 4 Students in Thai Literature Using 5 Steps of Active Learning Strature Using 5 Steps of Active Learning Strature by Limbach ang Waugh
ผู้แต่ง
ประทุม บุญเขียน
หัวเรื่อง
การคิดวิเคราะห์
วรรณคดีไทย
การคิดเชิงรุก 5 ชั้น
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์วรรณคดีไทย
ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิด
ของลิมแบ็กและวอร์ก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิด
ของลิมแบ๊กและวอร์ก กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนโรงเรียนชางตาครู้สคอนแวนท์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 จำนวน 34 คน ได้มาโดยวิธีการเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แล: 3) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test
ผลการวิจัยพบว่า
1) ความสามารถการคิดวิเคราะห์วรรณคดีไทย โดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้น ตามแนวคิดของลิมแบ๊กและวอร์ก หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิดของลิมแบ็กและวอร์ก โดยรวมอยู่ในระดับมาก
คำสำคัญ: การคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงรุก 5 ชั้น
ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิด
ของลิมแบ็กและวอร์ก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิด
ของลิมแบ๊กและวอร์ก กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนโรงเรียนชางตาครู้สคอนแวนท์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 จำนวน 34 คน ได้มาโดยวิธีการเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แล: 3) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test
ผลการวิจัยพบว่า
1) ความสามารถการคิดวิเคราะห์วรรณคดีไทย โดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้น ตามแนวคิดของลิมแบ๊กและวอร์ก หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิดของลิมแบ็กและวอร์ก โดยรวมอยู่ในระดับมาก
คำสำคัญ: การคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงรุก 5 ชั้น
บทคัดย่อ
This research aims to 1) compare the analytical thinking ability of Thai literature before and after class of Mathayomsuksa 4 Students in Thai Literature by using 5 Steps of Active Learning Strategy by Limbach and Waugh 2) study the satisfaction of Mathayomsuksa 4 students towards learning by using 5 Steps of Active Learning Strategy by Limbach and Waugh. The population were 34 students selected
by Purposive sampling. The research tools included 1) lesson plans 2) testing and 3) puestionnaire.
The statistics were mean, standard deviation, and t-test for dependent
sample The research results showed that:
1) the analytical thinking ability of The students Thai literature after using
the 5 Steps of Active Learning Strategy approach in combination with active learning
by Limbach and Waugh was statistically higher at the signifcant level of .05.
2) Students' satisfaction through 5 Steps of Active Learning Strategy by
Limbach and Waugh was at the high level.
Keywords: The analytical thinking, 5 Steps of Active Learning Strategy
by Purposive sampling. The research tools included 1) lesson plans 2) testing and 3) puestionnaire.
The statistics were mean, standard deviation, and t-test for dependent
sample The research results showed that:
1) the analytical thinking ability of The students Thai literature after using
the 5 Steps of Active Learning Strategy approach in combination with active learning
by Limbach and Waugh was statistically higher at the signifcant level of .05.
2) Students' satisfaction through 5 Steps of Active Learning Strategy by
Limbach and Waugh was at the high level.
Keywords: The analytical thinking, 5 Steps of Active Learning Strategy
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด
จิตตวิสุทธิ์ วิมุตติปัญญา
วาปี คงอินทร์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2565
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2566-09-29
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2566-09-29
วันที่เผยแพร่
2566-09-29
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.45 ป279ค 2565
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คอลเลกชั่น
ประทุม บุญเขียน .ความสามารถในการคิด วิเคราะห์วรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงรุก 5 ขั้นตามแนวคิดของลิมแบ๊กและวอร์ก. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 23, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/2740