การพัฒนาแชมพูสมุนไพรเพื่อการยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนาแชมพูสมุนไพรเพื่อการยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur
ชื่อเรื่องรอง
Development of an herbal shampoo for the Inhibilition of Malassesia furfur
ผู้แต่ง
เอกพล หมั่นพลศรี
หัวเรื่อง
เชื้อ Malassezia furfur
แชมพูสมุนไพร
แคแสด
พลู
พิลังกาสา
อัคคีทวาร
รายละเอียดอื่นๆ
งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาแชมพูสมุนไพรเพื่อการยับยั้งเชื้อ Malassezia fufur มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทดสอบฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ ใบและต้นกระดูกไก่ดำ เปลือกแคแสด เปลือกพิลังกาสา ใบพลู และใบอัคคีทวาร 2) ทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Malossezia fufur จากสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ ใบและต้นกระดูกไก่ดำ เปลือกแคแสด เปลือก
พิลังกาสา ใบพลู และใบอัคคีทวาร 3) พัฒนาแชมพูสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ Molassezia furfur วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ one-way analysis of variance (ANOVA, p< 0.05) และ Least significant difference procedure (LSD)
ผลการวิจัยพบว่า
1. สมุนไพรที่แสดงสมบัติการต้านอนุมูลอิสระมากที่สุดเมื่อทดสอบ โดยวิธี DPPH assay คือสารสกัดพิลังกาสา มีค่า (Cso เท่ากับ 8.028 + 0.220 mg/ml และเมื่อเทียบกับคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ โดยวิธี FRAP assay พบว่า สารสกัดจากพิลังกาสา แสดงค่การต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด (ค่า Fe II equivalent สูงที่สุด) คือ มีค่าเท่ากับ 2.44 + 0.004 mM Fe2t equivalent/mg crude extract
2. การศึกษาทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur ของสารสกัดสมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่กระดูกไก่ดำ แคแสด พลู พิลังกาสา และอัคคีทวาร พบว่า สารสกัดพลูมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur ได้ดีที่สุดที่ความเข้มข้น 600, 800 และ 1000 mg/ml โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเฉลี่ย (inhibition zone) เท่ากับ 8, 15 และ 17 มิลลิเมตร ตามลำดับ รองลงมา คือ สารสกัดแคแสด โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้ง เฉลี่ยเท่ากับ 8, 8, และ 10 มิลลิเมตร ส่วนสารสกัดพิลังกาสา และอัคคีทวาร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเฉลี่ย (inhibition zone) เท่ากับ 7 มิลลิเมตร และสารสกัดกระดูกไก่ดำไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อ Malassezia furfur
3. การทดสอบหาค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ยับยั้งการเจริญเติบโต (MIC) โดยวิธี Broth microdilution method และค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ฆ่าเชื้อ (MFC) พบว่า สารสกัดพลูสามารถยับยั้ง เชื้อ Malassezia furfur ได้ดีที่สุด โดยมีค่า MIC และ MFC เท่ากับ 12.5 mg/ml และ 25 mg/ml ตามลำดับ
4. การทดสอบตำรับแชมพูสมุนไพรเพื่อการยับยั้งเชื้อ Malassezia fufur พบว่า แชมพูสาร สกัดพลูทั้ง 3 ตำรับสามารถยับยั้งเชื้อ Molassezia fufur ได้ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเฉลี่ยของแชมพูผสมสารสกัดพลู ตำรับที่ 2, 3 และ 4 เท่ากับ 7, 8 และ 8 มิลลิเมตร ตามลำดับ ผลที่ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่สำคัญในการยับยั้งเชื้อ Malossezia fufur ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรต่อการนำไปใช้พัฒนาต่อยอดและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรมากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ: Malassezia fufur, กระดูกไก่ดำ, แคแสด, พลู, พิลังกาสา, อัคคีทวาร
พิลังกาสา ใบพลู และใบอัคคีทวาร 3) พัฒนาแชมพูสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ Molassezia furfur วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ one-way analysis of variance (ANOVA, p< 0.05) และ Least significant difference procedure (LSD)
ผลการวิจัยพบว่า
1. สมุนไพรที่แสดงสมบัติการต้านอนุมูลอิสระมากที่สุดเมื่อทดสอบ โดยวิธี DPPH assay คือสารสกัดพิลังกาสา มีค่า (Cso เท่ากับ 8.028 + 0.220 mg/ml และเมื่อเทียบกับคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ โดยวิธี FRAP assay พบว่า สารสกัดจากพิลังกาสา แสดงค่การต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด (ค่า Fe II equivalent สูงที่สุด) คือ มีค่าเท่ากับ 2.44 + 0.004 mM Fe2t equivalent/mg crude extract
2. การศึกษาทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur ของสารสกัดสมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่กระดูกไก่ดำ แคแสด พลู พิลังกาสา และอัคคีทวาร พบว่า สารสกัดพลูมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur ได้ดีที่สุดที่ความเข้มข้น 600, 800 และ 1000 mg/ml โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเฉลี่ย (inhibition zone) เท่ากับ 8, 15 และ 17 มิลลิเมตร ตามลำดับ รองลงมา คือ สารสกัดแคแสด โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้ง เฉลี่ยเท่ากับ 8, 8, และ 10 มิลลิเมตร ส่วนสารสกัดพิลังกาสา และอัคคีทวาร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเฉลี่ย (inhibition zone) เท่ากับ 7 มิลลิเมตร และสารสกัดกระดูกไก่ดำไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อ Malassezia furfur
3. การทดสอบหาค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ยับยั้งการเจริญเติบโต (MIC) โดยวิธี Broth microdilution method และค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ฆ่าเชื้อ (MFC) พบว่า สารสกัดพลูสามารถยับยั้ง เชื้อ Malassezia furfur ได้ดีที่สุด โดยมีค่า MIC และ MFC เท่ากับ 12.5 mg/ml และ 25 mg/ml ตามลำดับ
4. การทดสอบตำรับแชมพูสมุนไพรเพื่อการยับยั้งเชื้อ Malassezia fufur พบว่า แชมพูสาร สกัดพลูทั้ง 3 ตำรับสามารถยับยั้งเชื้อ Molassezia fufur ได้ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเฉลี่ยของแชมพูผสมสารสกัดพลู ตำรับที่ 2, 3 และ 4 เท่ากับ 7, 8 และ 8 มิลลิเมตร ตามลำดับ ผลที่ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่สำคัญในการยับยั้งเชื้อ Malossezia fufur ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรต่อการนำไปใช้พัฒนาต่อยอดและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรมากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ: Malassezia fufur, กระดูกไก่ดำ, แคแสด, พลู, พิลังกาสา, อัคคีทวาร
บทคัดย่อ
This research on the development of herbal shampoo against Malassesia furfur aimed to (1) determine antioxidant activitiesof five herbal extracts, i.e., Justicia gendarussa Burm.f., Spathodea campanulate P.Beauv., Ardisia elliptica Thunb., Piper betle L. and Rotheca serrata (L.) Steane & Mabb. (2) evaluate antifungal activities against Malassezia furfurof the five herbal extracts (3) develop herbal antifungal shampoo against Malassesia furfur. The data was analyzed by one-way analysis of variance (ANOVA, p<0.05) and Least significant difference procedure (LSD).
The results revealed the followings.
1. The extract that possessed the highest antioxidant activity in DPPH assay was Ardisia elliptica Thunb. (IC50 8.028 ± 0 . 220 mg/ml) and the extract that showed the highest antioxidant activity in FRAP assay with the highest Fe II equivalent was Ardisia elliptica Thunb. (2.44 ± 0.004 mM Fe2+ equivalent/mg crude extract.)
2. According to disc diffusion asssay, Piper betle L. extract exhibited the most potent antifungal activity against Malassezia furfur with the inhibition zone of 8,15and 17 mm at the concentrations of 600, 800 and 1000 mg/ml, respectively. Spathodea campanulate P.Beauv. extract displayed moderate activity with the inhibition zone of 8,
8 and 10 mm, respectively followed by Ardisia elliptica Thunb. and Rotheca serrata (L.) Steane & Mabb. extract with average inhibition zone of 7 mm while Justicia gendarussa Burm.f. extract had no antifungal activity against Malassezia furfur.
3. Antifungal activity assay by Broth microdilution method revealed that Piper betle L. extract possessed most potent antifungal activity against Malassezia furfur with MIC and MFC of 12.5 mg/ml and 25 mg/ml, respectively.
4. The shampoo containing Piper betle extract at the concentration of 1.25%, 3.75% and 6.25% w/w showed antifungal activity against Malassezia furfur with inhibition zone of 7, 8 and 8 mm, respectively. The results from this study suggested that herbal extract could be a potential antifungal agent against Malassezia furfur and
could be further studied and developed to promote the utilization of herbs in the future.
Keywords: Malassezia furfur, Justicia gendarussa Burm.f., Spathodea campanulate P.Beauv., Piper betle L., Ardisia elliptica Thunb., Rotheca serrata(L.) Steane & Mabb.
The results revealed the followings.
1. The extract that possessed the highest antioxidant activity in DPPH assay was Ardisia elliptica Thunb. (IC50 8.028 ± 0 . 220 mg/ml) and the extract that showed the highest antioxidant activity in FRAP assay with the highest Fe II equivalent was Ardisia elliptica Thunb. (2.44 ± 0.004 mM Fe2+ equivalent/mg crude extract.)
2. According to disc diffusion asssay, Piper betle L. extract exhibited the most potent antifungal activity against Malassezia furfur with the inhibition zone of 8,15and 17 mm at the concentrations of 600, 800 and 1000 mg/ml, respectively. Spathodea campanulate P.Beauv. extract displayed moderate activity with the inhibition zone of 8,
8 and 10 mm, respectively followed by Ardisia elliptica Thunb. and Rotheca serrata (L.) Steane & Mabb. extract with average inhibition zone of 7 mm while Justicia gendarussa Burm.f. extract had no antifungal activity against Malassezia furfur.
3. Antifungal activity assay by Broth microdilution method revealed that Piper betle L. extract possessed most potent antifungal activity against Malassezia furfur with MIC and MFC of 12.5 mg/ml and 25 mg/ml, respectively.
4. The shampoo containing Piper betle extract at the concentration of 1.25%, 3.75% and 6.25% w/w showed antifungal activity against Malassezia furfur with inhibition zone of 7, 8 and 8 mm, respectively. The results from this study suggested that herbal extract could be a potential antifungal agent against Malassezia furfur and
could be further studied and developed to promote the utilization of herbs in the future.
Keywords: Malassezia furfur, Justicia gendarussa Burm.f., Spathodea campanulate P.Beauv., Piper betle L., Ardisia elliptica Thunb., Rotheca serrata(L.) Steane & Mabb.
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อัจฉรา แก้วน้อย
อ้อมบุญ วัลลิสุต
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2563
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 646.72 อ876ก 2563
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
การแพทย์แผนไทยมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
เภสัชกรรมไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2563
คอลเลกชั่น
เอกพล หมั่นพลศรี . (2563). การพัฒนาแชมพูสมุนไพรเพื่อการยับยั้งเชื้อ Malassezia furfur. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 23, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1609