การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจต์เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณาญาณสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Item

ชื่อเรือง

การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจต์เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณาญาณสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ชื่อเรื่องรอง

Development of Piaget’s Cognitive Theory-based Instruction to Enhance Critical Thinking Skill for Prathomsuksa 6 Students

ผู้แต่ง

ศจีประภา ธิมา

หัวเรื่อง

ภาษาอังกฤษ -- คำศัพท์
การพัฒนารูปแบบการสอน
ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)

รายละเอียดอื่นๆ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนตาม แนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดอย่างมี วิจารณญาณ สำหรับนักรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เปรียบเทียบความสามารถทางการคิด อย่างมีวิจารณญาณของนักรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบ การสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชาตศึกษา จำนวน 17 คน โดยใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเป็นห้อง 1 ห้อง โดยการแบ่งกลุ่ม เครื่องมือเก็บ รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการเรียนรู้ และแบบทดสอบ วัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ดำเนินการเก็บรวบร วม ข้อมูลในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ เพียเจต์เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ประกอบด้วย 1) หลักการ/แนวคิด ของรูปแบบ 2) จุดมุ่งหมายของรูปแบบ 3) กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ และ 4) ผลที่ผู้เรียน จะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ 2. ผู้เรียนมีความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงขึ้นหลังเรียน โดยใช้รูปแบบ การสอนตามแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

คำสำคัญ รูปแบบการสอน ,ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ,สามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

บทคัดย่อ

The purposes of this quasi-experimental research were: 1) to develop Piaget’s cognitive theory-based instruction to enhance critical thinking skill for Prathomsuksa 6 Students and 2) to compare between the students’ critical thinking skill before and after learning through the developed instruction. The sample included 17Prathomsuksa 6 students from Chatrasuksa School obtained by classroom-based cluster random sampling. The research instruments involved lesson plan and 4-multiple choice critical thinking skill test. Data were collected in the 2nd semester of academic year 2013, and statistically analyzed in MEAN, standard deviation and t-test. The findings revealed as follows. 1. The Piaget’s cognitive theory-based instruction was composed of 1) principle/concept 2) objectives 3) learning activities and 4) learning outcomes. 2. The students’ critical thinking skill after learning through the developed instruction was higher than that before the experiment at significance level .05.

Keywords: Instruction, Piaget’s Cognitive Theory, Critical Thinking Skill

ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน

บังอร เสรีรัตน์
ทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ

วันที่ ปีที่จัดพิมพ์

2562

วันที่ผลิต วันที่จัดทำ

2021-08-09 06:57:07

วันที่ปรับปรุงข้อมูล

2021-08-09 06:57:07

ประเภท

thesis

รูปแบบ

application/pdf

แหล่งที่มา

วน371.102 ศ117ก2562

ภาษา

tha

ลิขสิทธิ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Degree (name, level, descipline, grantor)

ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

วันที่ใช้งาน

2562

คอลเลกชั่น

ศจีประภา ธิมา . (2562). การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจต์เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณาญาณสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 24, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1565

นำออกข้อมูล :