การยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
Item
ชื่อเรือง
การยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ชื่อเรื่องรอง
Student relationship management adoption of Rajabhat Universities
ผู้แต่ง
อมลณัฐ โชติกิจนุสรณ์
หัวเรื่อง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- การบริหาร
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- การบริหาร
การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
ความสามารถทางการบริหาร
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยและพัฒนาแบบจำลองที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฎ
2) ยืนยันแนวทางการจัดกิจกรรมการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบผสมผสานโดยข้อมูลเชิงปริมาณได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรจำนวน 1,025 คนและนักศึกษาจำนวน 1,137 คน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์จำนวน 5 แห่ง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาแบบจำลองที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ โดยใช้การวิเคราะห์ โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้โดยการวิเคราะห์เนื้อหา จากการสนทนากลุ่มโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน และ
สัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างประกอบด้วยผู้บริหารจำนวน 5 คนและนายกองค์การนักศึกษา จำนวน 5 คนของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่ม รัตนโกสินทร์
ผลการวิจัยพบว่า
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วย 6 ปัจจัย เรียงลำดับจากปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงที่สุดไปน้อยที่สุด โดยส่วนของบุคลากร ได้แก่ 1) ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ 2) ความพร้อมของมหาวิทยาลัย 3) ทัศนคติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ 4) การรับรู้ว่ามีประโยชน์ 5) อิทธิพลทางสังคม และ 6) การรับรู้ว่าง่าย ส่วนของนักศึกษา ได้แก่ 1) ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ 2) การรับรู้ว่ามีประโยชน์ 3) อิทธิพลทางสังคม 4) ความพร้อมของมหาวิทยาลัย 5) การรับรู้ว่าง่าย และ 6 ทัศนคติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์
2) แบบจำลองที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ไนมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับบุคลากร มีค่ X'/df = 3. 728, RFI = 0.856, NFI - 0.868, IFI = 0.900, TLI - 0.891, CFI -0.900 และ RMSEA - 0.052 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับบุคลากร ได้แก่ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .919 ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อม ได้แก่ ความพร้อมของมหาวิทยาลัย ทัศนคติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ การรับรู้ว่ามีประโยชน์ อิทธิพลทางสังคม และการรับรู้ว่าง่าย โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .560 .294 .279 .267 และ .210 ตามลำดับ และสำหรับนักศึกษามีค่า X'/df = 3.927, RFI = 0.800, NFI = 0.814, IFI - 0.854 TLI = 0.843 CFI =0.854 และ RMSEA = 0.051 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับนักศึกษา ใด้แก่ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .969 ส่วนปัจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อม ได้แก่ การรับรู้ว่ามีประโยชน์ อิทธิพลทางสังคม ความพร้อมของมหาวิทยาลัย การรับรู้ว่าง่าย และทัชนดติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ โดยมีขนาดอิทธิพล
เท่ากับ .645 .637 .533 282 และ . 142 ตามลำดับ
3) แนวทางการจัดกิจกรรมอันดับแรกของการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ สำหรับบุคลากรคือการสำรวจและจัดเตรียมอุปกรณ์เพื่อรองรับการดำเนินงาน ด้านการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ และสำหรับนักศึกษาคือการสำรวจคุณลักษณะของบุคลากรที่ตรงตามความต้องการของนักศึกษาและจัดเตรียมบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินงานด้านการบริหาร นักศึกษาสัมพันธ์โดยผู้บริหารและนายกองค์การนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตน โกสินทร์เห็นสอดคล้องกันว่ากิจกรรมดังกล่าวนี้มีความถูกต้อง ครอบคลุม เหมาะสม เป็นไปได้ และมีประโยชน์
คำสำคัญ: การยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ
2) ยืนยันแนวทางการจัดกิจกรรมการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบผสมผสานโดยข้อมูลเชิงปริมาณได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรจำนวน 1,025 คนและนักศึกษาจำนวน 1,137 คน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์จำนวน 5 แห่ง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาแบบจำลองที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ โดยใช้การวิเคราะห์ โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้โดยการวิเคราะห์เนื้อหา จากการสนทนากลุ่มโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน และ
สัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างประกอบด้วยผู้บริหารจำนวน 5 คนและนายกองค์การนักศึกษา จำนวน 5 คนของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่ม รัตนโกสินทร์
ผลการวิจัยพบว่า
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วย 6 ปัจจัย เรียงลำดับจากปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงที่สุดไปน้อยที่สุด โดยส่วนของบุคลากร ได้แก่ 1) ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ 2) ความพร้อมของมหาวิทยาลัย 3) ทัศนคติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ 4) การรับรู้ว่ามีประโยชน์ 5) อิทธิพลทางสังคม และ 6) การรับรู้ว่าง่าย ส่วนของนักศึกษา ได้แก่ 1) ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ 2) การรับรู้ว่ามีประโยชน์ 3) อิทธิพลทางสังคม 4) ความพร้อมของมหาวิทยาลัย 5) การรับรู้ว่าง่าย และ 6 ทัศนคติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์
2) แบบจำลองที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ไนมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับบุคลากร มีค่ X'/df = 3. 728, RFI = 0.856, NFI - 0.868, IFI = 0.900, TLI - 0.891, CFI -0.900 และ RMSEA - 0.052 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับบุคลากร ได้แก่ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .919 ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อม ได้แก่ ความพร้อมของมหาวิทยาลัย ทัศนคติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ การรับรู้ว่ามีประโยชน์ อิทธิพลทางสังคม และการรับรู้ว่าง่าย โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .560 .294 .279 .267 และ .210 ตามลำดับ และสำหรับนักศึกษามีค่า X'/df = 3.927, RFI = 0.800, NFI = 0.814, IFI - 0.854 TLI = 0.843 CFI =0.854 และ RMSEA = 0.051 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับนักศึกษา ใด้แก่ความตั้งใจใช้การบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .969 ส่วนปัจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อม ได้แก่ การรับรู้ว่ามีประโยชน์ อิทธิพลทางสังคม ความพร้อมของมหาวิทยาลัย การรับรู้ว่าง่าย และทัชนดติต่อการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ โดยมีขนาดอิทธิพล
เท่ากับ .645 .637 .533 282 และ . 142 ตามลำดับ
3) แนวทางการจัดกิจกรรมอันดับแรกของการยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ สำหรับบุคลากรคือการสำรวจและจัดเตรียมอุปกรณ์เพื่อรองรับการดำเนินงาน ด้านการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ และสำหรับนักศึกษาคือการสำรวจคุณลักษณะของบุคลากรที่ตรงตามความต้องการของนักศึกษาและจัดเตรียมบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินงานด้านการบริหาร นักศึกษาสัมพันธ์โดยผู้บริหารและนายกองค์การนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตน โกสินทร์เห็นสอดคล้องกันว่ากิจกรรมดังกล่าวนี้มีความถูกต้อง ครอบคลุม เหมาะสม เป็นไปได้ และมีประโยชน์
คำสำคัญ: การยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
บุญมี กวินเสกสรรค์
จิรวัฒน์ วรวิชัย
ภูวดล บัวบางพูล
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2560
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 378.101 อ297ก 2560
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
ปริญญาเอก
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2560
คอลเลกชั่น
อมลณัฐ โชติกิจนุสรณ์ . (2560). การยอมรับการบริหารนักศึกษาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 24, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1556