การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริมทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริมทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย
ผู้แต่ง
สิวิมล นางาม
หัวเรื่อง
ทักษะทางสังคมในเด็ก -- การศึกษาและการสอน (การศึกษาปฐมวัย)
ทักษะทางสังคม -- การศึกษาและการสอน (การศึกษาปฐมวัย)
การศึกษาปฐมวัย -- กิจกรรมการเรียนการสอน
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลองโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูรา เพื่อส่งเสริมทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยและ 2) เปรียบเทียบ
ทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูรา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1/1 โรงเรียนราชวินิตประถมบางแค จำนวน 38 คน
โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ และ 2) แบบประเมินทักษะทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที แบบกลุ่มเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1) รูปแบบการจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริมทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยประกอบด้วย 1)ทฤษฎี /หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ 2)วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ ขั้นที่ 2 เรียนรู้สู่การปฏิบัติ ขั้นที่ 3การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องขั้นที่ 4 ยืนยันความรู้ และ 4) ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ
2) นักเรียนที่เรียนตามรูปแเบบการสอน โดยใช้ทฤษฎีแบนดูรามีทักษะทางสังคมในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยทักษะทางสังคมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
คำสำคัญ : รูปแบบการสอน ทฤษฎีแบนดูรา ทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย
ทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูรา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1/1 โรงเรียนราชวินิตประถมบางแค จำนวน 38 คน
โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ และ 2) แบบประเมินทักษะทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที แบบกลุ่มเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1) รูปแบบการจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริมทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยประกอบด้วย 1)ทฤษฎี /หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ 2)วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ ขั้นที่ 2 เรียนรู้สู่การปฏิบัติ ขั้นที่ 3การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องขั้นที่ 4 ยืนยันความรู้ และ 4) ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ
2) นักเรียนที่เรียนตามรูปแเบบการสอน โดยใช้ทฤษฎีแบนดูรามีทักษะทางสังคมในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยทักษะทางสังคมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
คำสำคัญ : รูปแบบการสอน ทฤษฎีแบนดูรา ทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
The purposes of this quasi-experimental research were 1) to develop Bandura’s theorybased instruction to enhance social skill for early childhood students and 2) to compare social skill of early childhood students between before and after learning through the developed instruction. The sample included 38 of Kindergarten 1/1 of Ratchavinitprathombangkae School obtained through purposive random sampling. The research instruments involved lesson plans and social skill evaluation form. Data were collected in the 2nd semester of academic year 2016 and were statistically analyzed in percentage, MEAN, standard deviation and t-test.
The findings revealed as follows.
1) The Bandura’s theory-based instruction to enhance social skill for early childhood
students was composed of 1) theory/principle/concept 2) objectives 3) learning activities with four steps: step 1 - engagement; step 2 - exploration; step 3 - elaboration and step 4 - evaluation and 4) learning objectives.
2) The social skill of early childhood students after learning through Bandura’s theorybased instruction was higher than that before the experiment at significance level .01.
Keywords: Instruction, Bandura’s Theory, Social Skill of Early Childhood Students
The findings revealed as follows.
1) The Bandura’s theory-based instruction to enhance social skill for early childhood
students was composed of 1) theory/principle/concept 2) objectives 3) learning activities with four steps: step 1 - engagement; step 2 - exploration; step 3 - elaboration and step 4 - evaluation and 4) learning objectives.
2) The social skill of early childhood students after learning through Bandura’s theorybased instruction was higher than that before the experiment at significance level .01.
Keywords: Instruction, Bandura’s Theory, Social Skill of Early Childhood Students
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
บังอร เสรีรัตน์
เปรมสุรีย์ เชื่อมทอง
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2559
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.21 ส733ก 2559
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2559
คอลเลกชั่น
สิวิมล นางาม . (2559). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ทฤษฎีแบนดูราเพื่อส่งเสริมทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 25, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1520