จิตรกรรมประทับใจเชิงสัญลักษณ์ เรื่อง "ต้นสาละ"

Item

ชื่อเรือง

จิตรกรรมประทับใจเชิงสัญลักษณ์ เรื่อง "ต้นสาละ"

ชื่อเรื่องรอง

IMPRESSIONISTIC SYMBOLISM PAINTING PREDICTATION OF
“SALA TREE”

ผู้แต่ง

วิทยา พิบูลย์สวัสดิ์

หัวเรื่อง

จิตรกรรม

รายละเอียดอื่นๆ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลงานจิตรกรรมของโกลด โมเม่ ที่สร้างขึ้นระหว่างปี ค.ส.1840 - 1926 ในประเด็นการ ใช้สี และเทคนิคการระบายสีและ 2) สร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรรมประทับใจชิงสัญลักษณ์ เรื่อง "ต้นสาละ" ด้วยกลวิธี สีอะครีลิกบนผืนผ้าใบ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผลงานจิตรกรรมของโกลด โมเน่ จำนวน 10 ภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสังเกต
แบบมีโครงสร้าง แบบวิเคราะห์ตารารางกิต แบบสัมภาษณ์มี โครงสร้าง ผลงานสร้างสรรค์ของผู้วิจัย และแบบประเมินคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้เทคนิคเดฟาย ประยุกต์ และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ยร่วมกับการวิเคราะห์เชิงพรรณบา
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประเด็นการใช้สีในผลงานของโกลด โมเน่ จำนวน 10 ภาพ สีที่ใช้มากที่สุดคือสีเขียวแก่ รองลงมาเป็นสีเขียวอ่อน สีส้ม สีเหลืองเลมอน สีม่วง สีเทา สีน้ำดาล สีเหลืองโอ๊ค สีฟ้า สีชมพู สีน้ำเงิน สีขาว และสีแดง ตามลำดับ ประเด็นเทคนิคการระบายสี เทคนิคที่ใช้มากที่สุด คือแบบแต้มแตะ รองลงมาเป็นแบบขีด แบบเป็นจุด แบบเกลี่ย และแบบทิ้งรอยแปรง ตามลำดับ
2. ผลงานจิตรกรรมของผู้วิจัยสื่อสัญลักษณ์เกี่ยวกับความรักความผูกพันในครอบครัว พบว่า ต้นสาละเป็นต้นไม้ที่มีองค์ประกอบลำต้นกิ่งก้านเถาหนามลูกผลดอกใบ มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน สัมพันธ์เชื่อมประสานสื่อสัญลักษณ์ถึงความรักความผูกพันความสุขสงบภายในครอบครัวได้เป็นอย่างดี การจัดองค์ประกอบของภาพเป็นไปตามวัดถุประสงค์และเป้าหมาย จัดภาพแบบเป็นกลุ่มก้อน มี ระยะ มีเวลา มีมิติแสงเงา และมีสีของบรรยากาศเข้ามาเกี่ยวข้อง ประเด็นการใช้ใ ใช้สีเขียวแก่มากที่สุด รองลงมาเป็นสีเขียวอ่อน สีส้ม สีเหลืองเลมอน สีม่วง สีเทา สีน้ำตาล สีเหลืองโอ๊ค สีฟ้า สีชมพู สีน้ำเงิน สีขาว และสึแดง เทศนิตการระบายสี ใช้แบบแต้มแตะมากที่สุด รองลงมาเป็นแบบขีด แบบเป็นจุดแบบเกลี่ย และแบบทิ้งรอยแปรง ตามลำดับ

คำสำคัญ: จิตรกรรมประทับใจ, สัญลักษณ์นิยม, ตั้นสาละ

บทคัดย่อ

The purposes of this research were 1) to study the painting created by Claude Monet during 1840-1926 AD in terms of use of colours and colouring and 2 to create impressionistic symbolism painting entitled “Sala Tree” with acrylic on canvas. The sample included ten of Claude Monet’s paintings. The research instruments involved structured observation form, Grid Table Analysis Form, structured interview, researcher’s painting and quality assessment form. Data were collected through interview using applied Del-phi technique and were statistically analyzed in percentage and mean. Descriptive analysis was also employed.
The findings revealed as follows.
1.The mostly used colours in Claude Monet’s ten paintings was green followed by light green, orange, lime yellow, purple, grey, brown, oak yellow, blue, pink, navy blue and white. Colouring technique mostly used referred to dry on dry, dash, dot, opaque colour and brush stroke.
2. The painting of the researcher applied family commitment concept. The Sala tree with connected parts among its stems, thorns, fruits and blossom which symbolized the affection in the family. The composition was found consistent with the objective, namely it was a unity, including distance, time, light and shade, and atmosphere colour. The mostly used colours in Claude Monet’s ten paintings was green followed by light green, orange, lime yellow, purple, grey, brown, oak yellow, blue, pink, navy blue and white. Colouring technique mostly used referred to dry on dry, dash, dot, opaque colour and brush stroke.

Keywords: Impressionistic Painting, Symbolism, Sala Tree

ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์

มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน

พีระพงษ์ กุลพิศาล
สมชาย พรหมสุวรรณ
นิโรจน์ จรุงจิตวิทวัส

วันที่ ปีที่จัดพิมพ์

2559

วันที่ผลิต วันที่จัดทำ

2021-08-09 06:57:07

วันที่ปรับปรุงข้อมูล

2021-08-09 06:57:07

ประเภท

thesis

รูปแบบ

application/pdf

แหล่งที่มา

วน 750 ว582จ 2559

ภาษา

tha

รหัส

ลิขสิทธิ์

มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Degree (name, level, descipline, grantor)

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ศิลปกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

วันที่ใช้งาน

2559

คอลเลกชั่น

วิทยา พิบูลย์สวัสดิ์ . (2559). จิตรกรรมประทับใจเชิงสัญลักษณ์ เรื่อง "ต้นสาละ". มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 25, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1497

นำออกข้อมูล :