จิตรกรรมศิลปะลวงตา: กรณีศึกษากลวิธีการสร้างงานศิลปะลวงตาของบริดเจ็ท ไรลีย์ ในช่วงปีค.ศ. 1960-2013
Item
ชื่อเรือง
จิตรกรรมศิลปะลวงตา: กรณีศึกษากลวิธีการสร้างงานศิลปะลวงตาของบริดเจ็ท ไรลีย์ ในช่วงปีค.ศ. 1960-2013
ชื่อเรื่องรอง
Optical Painting : A Case Study of Bridget Riley During 1960-2013 A.D.
ผู้แต่ง
ศรจิตตรา ชูอินทร์
หัวเรื่อง
จิตรกรรม
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์จิตรกรรมศิลปะลวงตาของบริดเจ็ท ไรลี่ย์เฉพาะผลงานที่มีลักษณะการซ้ำกันของเส้นและรูปร่างในช่วงปี ค.ศ. 1960-2013 ในประเด็นต่อไปนี้ ชุดสี กลวิธี การจัดองค์ประกอบ และ 2) สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมศิลปะลวงตาด้วยเทคนิคสีน้ำมันกับพู่กันลมบนผ้าใบ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผลงานจิตรกรรมของบริดเจ็ทไรลี่ย์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบวิเคราะห์ตารางกริด แบบสังเกตแบบมีโครงสร้าง ผลงานสร้างสรรค์ของผู้วิจัย แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบประเมินคุณภาพผลงานสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาร่วมกับร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาวิเคราะห์จิตรกรรมศิลปะลวงตาของบริดเจ็ท ไรลี่ย์ พบว่า ชุดสีที่ใช้ได้แก่ สีขาว สีชมพู สีฟ้า สีดำ และสีเขียว กลวิธีใช้เทคนิคการระบายสีขอบคม การจัดองค์ประกอบ (ความสมดุล) จัดแบบซ้าย-ขวาเท่ากันแต่ไม่เหมือนกัน มีจุดเด่นและการเน้นด้วยขนาดและเส้นนำสายตา 2. การสร้างสรรค์ผลงานผู้วิจัยใช้ชุดสี ประกอบด้วย สีขาว สีชมพู สีฟ้า สีดำ และสีเขียว กลวิธีใช้เทคนิคการระบายสีขอบคม การจัดองค์ประกอบ (ความสมดุล) จัดแบบซ้าย-ขวาเท่ากันแต่ไม่เหมือนกัน มีจุดเด่นและการเน้นด้วยขนาดและเส้นนำสายตา
คำสำคัญ : ศิลปะลวงตา ชุดสี การจัดองค์ประกอบ
คำสำคัญ : ศิลปะลวงตา ชุดสี การจัดองค์ประกอบ
บทคัดย่อ
The purposes of this research were 1) to study the optical arts paintings of Bridget Riley During 1960-2013 A.D. particularly the works with line and shapes repetition in terms of colour set, methods of painting and composition and 2) to create the optical arts paintings with oil paints and air brush on canvas. The sample included paintings of Bridget Riley. The research instruments involved Grid Table Analysis, structured observation checklist, the researcher’s paintings, structured interview and painting’s quality assessment form. Data were statistically analyzed in percentage, MEAN and standard deviation with content analysis. The findings revealed as follows. 1. To study the optical arts paintings of Bridget Riley employed sets of colours, i.e., white, pink, blue, black and green. The painting methods referred to hard edge painting. Symmetry was used as the composition for balance with emphasis of related shape scales and projection of line. 2. The optical arts paintings created by the researcher in the present study employed sets of colours, i.e., white, pink, blue, black and green. The painting methods referred to hard edge painting. Symmetry was used as the composition for balance with emphasis of related shape scales and projection of line.
Keywords: Optical Arts, Colour Set, Composition
Keywords: Optical Arts, Colour Set, Composition
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
สมชาย พรหมสุวรรณ
พีระพงษ์ กุลพิศาล
ประไพ วีระอมรกุล
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2559
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 750 ศ132จ 2559
ภาษา
Tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ศิลปกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2559
คอลเลกชั่น
ศรจิตตรา ชูอินทร์ . (2559). จิตรกรรมศิลปะลวงตา: กรณีศึกษากลวิธีการสร้างงานศิลปะลวงตาของบริดเจ็ท ไรลีย์ ในช่วงปีค.ศ. 1960-2013. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 25, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1494