การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตปัญญาร่วมกับการเพิ่มพูนการคิดคณิตศาสตร์ (ACT) เพื่อสร้างเสริมความสามารถการคิดตรรกคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตปัญญาร่วมกับการเพิ่มพูนการคิดคณิตศาสตร์ (ACT) เพื่อสร้างเสริมความสามารถการคิดตรรกคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ชื่อเรื่องรอง
The Development of Contemplative Learning with Advancing Children's Mathematical Thinking to Enhance Mathematically Logical Thinking for Early Childhood Learners
ผู้แต่ง
วิราวรรณ ภูแย้มไสย์
หัวเรื่อง
คณิตศาสตร์-- การศึกษาและการสอน (ก่อนประถมศึกษา)
การคิดตรรกะคณิตศาสตร์
เด็กปฐมวัย
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด จิตปัญญาร่วมกับการเพิ่มพูนการคิดคณิตศาสตร์ (ACT) เพื่อสร้างเสริมความสามารถการคิดตรรกะคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และ 2) เปรียบเทียบความสามารถการคิดตรรกะคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตปัญญาร่วมกับการเพิ่มพูนการคิดคณิตศาสตร์ (ACT) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนวรรณสว่างจิต ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดประสบการณ์และแบบประเมินความสามารถการคิดตรรกะคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 1) ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ ซึ่งมุ่งพัฒนาให้เด็กปฐมวัยมีความสามารถทางการคิดตรรกะ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ มุ่งพัฒนาให้เด็กปฐมวัยมีความสามารถทางการคิดตรรกะ 3) กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบซึ่งมี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กระตุ้นการคิด ขั้นที่ 2 สันนิษฐานคำตอบ ขั้นที่ 3 พิสูจน์เหตุผล ขั้นที่ 4 สรุปหลักการทางคณิตศาสตร์ 4) ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบทำให้มีความสามารถทางการคิดตรรกะคณิตศาสตร์ 4 ด้านดังนี้ แจกแจงเหตุผล ความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงและข้อสรุปทางคณิตศาสตร์ 2. เด็กปฐมวัยมีความสามารถทางการคิดตรรกคณิตศาสตร์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
คำสำคัญ : จิตปัญญา,การคิดตรรกคณิตศาสตร์
คำสำคัญ : จิตปัญญา,การคิดตรรกคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ
The purposes of this research were 1) to develop the contemplative learning with advancing Children’s Mathematical Thinking to enhance mathematically logical thinking for early childhood learners and 2) to compare mathematically logical thinking skill of early childhood learners between before and after contemplative learning with advancing children’s mathematical thinking. The sample included 25 pre-childhood students from Wannasawangchit School in the 2nd semester of academic year 2013. The research instruments consisted of lesson plans and assessment form of mathematically logical thinking skill. Data was statistically analyzed in percentage, mean, and t-test.
The findings revealed as follows:
1. The developed contemplative learning model delineated the following components: 1) theories/concepts of developing early childhood learners’ logical thinking 2) model objective of developing early childhood learners’ logical thinking 3) learning process in 4 steps: step 1 – thinking encouragement; step 2 – setting hypothesis; step 3: experiment; and step 4 – mathematical conclusion, and 4) the learning outcomes in 4 aspects i.e. reasoning, relating, linking, and mathematical summarizing.
2. The mathematically logical thinking skill of early childhood learners after learning through the developed learning model was found higher significantly at 0.01 level.
Keywords: Contemplative Learning, Mathematically Logical Thinking
The findings revealed as follows:
1. The developed contemplative learning model delineated the following components: 1) theories/concepts of developing early childhood learners’ logical thinking 2) model objective of developing early childhood learners’ logical thinking 3) learning process in 4 steps: step 1 – thinking encouragement; step 2 – setting hypothesis; step 3: experiment; and step 4 – mathematical conclusion, and 4) the learning outcomes in 4 aspects i.e. reasoning, relating, linking, and mathematical summarizing.
2. The mathematically logical thinking skill of early childhood learners after learning through the developed learning model was found higher significantly at 0.01 level.
Keywords: Contemplative Learning, Mathematically Logical Thinking
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
วิโฬฏฐ์ วัฒนานิมิตกูล
สุภรณ์ ลิ้มบริบูรณ์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2557
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.21 ว692ก 2557
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2557
คอลเลกชั่น
วิราวรรณ ภูแย้มไสย์ . (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตปัญญาร่วมกับการเพิ่มพูนการคิดคณิตศาสตร์ (ACT) เพื่อสร้างเสริมความสามารถการคิดตรรกคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 26, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1415