การจัดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ
Item
ชื่อเรือง
การจัดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ
ชื่อเรื่องรอง
The clinical service management of applied Thai tradition medicine to inprove service quality
ผู้แต่ง
สุวรรณ ตั้งจิตรเจริญ
หัวเรื่อง
แพทย์แผนโบราณ
การพัฒนาคุณภาพบริการ
ปัจจัยการจัดบริการ
รายละเอียดอื่นๆ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยสนับสนุนที่ทำให้การจัดบริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์มีคุณภาพ 2) พัฒนาคุณภาพการจัดบริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ก่อนและหลังการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการ โดยใช้ทั้งการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ การศึกษาวิจัยเชิงทดลองและการศึกษารายกรณี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ให้และผู้ใช้บริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ในเขตกรุงเทพมหานครทั้งหมด 23 แห่ง และในจังหวัดนนทบุรี 3 แห่งรวม 26 แห่ง จำนวน100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถาม โดยสอบถามจากผู้ใช้และผู้ให้บริการและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเชิงคุณภาพมีจำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์เจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แนวคิด PRECEDE-PROCEDE MODEL และใช้วิธีแจกแจงความถี่หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยสนับสนุนที่ทำให้การจัดบริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์มีคุณภาพได้แก่ ปัจจัยด้านระบบบริการ ปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการ ปัจจัยด้านพฤติกรรมผู้ให้บริการ ปัจจัยด้านบริการข้อมูล ปัจจัยด้านประสิทธิผลการรักษาและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมภายหลังการทดลอง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเจตคติสูงกว่าก่อนการทดลอง ในระดับมาก 2) การพัฒนาคุณภาพการจัดบริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ สามารถพัฒนาคุณภาพการจัดบริการได้ดีขึ้น 3) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก
คำสำคัญ : การจัดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ , การพัฒนาคุณภาพบริการ, ปัจจัยการจัดบริการ
คำสำคัญ : การจัดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ , การพัฒนาคุณภาพบริการ, ปัจจัยการจัดบริการ
บทคัดย่อ
This study aimed to: 1) explore the missing elements of service factors causing low quality
services in the Applied Thai Traditional Medicine clinics; 2) improve the service quality of the Applied Thai Traditional Medicine clinic; and 3) discover the satisfaction of the customers both before and after using the service at an Applied Thai Traditional Medicine clinic. This study was conducted through a survey, experimental study and case studies. The sample was a group of 100 service persons and customers in the Applied Thai Traditional Medicine clinics including 23 clinics in Bangkok and 3 clinics in Nonthaburi. The instrument for collectingquantitative data from service persons and customers was a set of questionnaire. Numbers of the sample for the qualitative study were 10 and the instrument used was an in-depth interview. The data was analyzed with PRECEDEPROCEDE MODEL, the frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test.
Results of study were as followed:
1) The support factors for the good quality services of Applied Thai Traditional Medicine
clinics were the service system, service process, behavior of the service persons, information service, effectiveness of maintenance, and environment. After the experiment, it was discovered that the attitude of the sample was changed significantly.
2) The service quality at the Applied Thai Traditional Medicine clinic could be improved.
3) The analysis for the level of satisfaction of the customers in the Applied Thai Traditional Medicine clinic revealed that the satisfaction on every factor was at the high level.
Keywords : Service management of Applied Thai Traditional Medicine clinics,
Quality service improvement,Service management factors
services in the Applied Thai Traditional Medicine clinics; 2) improve the service quality of the Applied Thai Traditional Medicine clinic; and 3) discover the satisfaction of the customers both before and after using the service at an Applied Thai Traditional Medicine clinic. This study was conducted through a survey, experimental study and case studies. The sample was a group of 100 service persons and customers in the Applied Thai Traditional Medicine clinics including 23 clinics in Bangkok and 3 clinics in Nonthaburi. The instrument for collectingquantitative data from service persons and customers was a set of questionnaire. Numbers of the sample for the qualitative study were 10 and the instrument used was an in-depth interview. The data was analyzed with PRECEDEPROCEDE MODEL, the frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test.
Results of study were as followed:
1) The support factors for the good quality services of Applied Thai Traditional Medicine
clinics were the service system, service process, behavior of the service persons, information service, effectiveness of maintenance, and environment. After the experiment, it was discovered that the attitude of the sample was changed significantly.
2) The service quality at the Applied Thai Traditional Medicine clinic could be improved.
3) The analysis for the level of satisfaction of the customers in the Applied Thai Traditional Medicine clinic revealed that the satisfaction on every factor was at the high level.
Keywords : Service management of Applied Thai Traditional Medicine clinics,
Quality service improvement,Service management factors
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
จันทร์วิภา ดิลกสัมพันธ์
พงศ์ หรดาล
บุตร วานิชพงษ์พันธุ์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2556
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 615.321 ส869ก 2556
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
ปริญญาเอก
การจัดการเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2556
คอลเลกชั่น
สุวรรณ ตั้งจิตรเจริญ . (2556). การจัดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 27, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1382