การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Item

ชื่อเรือง

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ชื่อเรื่องรอง

Developing of Computer Instruction Program Entitled Information and Communication Technology on the Occupation and Teahnology Learning Content Group for Mathayomsuksa V Student

ผู้แต่ง

นฤมล คงกำเหนิด

หัวเรื่อง

การเรียนการสอนผ่านเว็บ
การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย

รายละเอียดอื่นๆ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สําหรับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ คือ 80/80 และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนจันทรวิทยา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 จํานวน 35 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร มีค่าเท่ากับ 82/80 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลจากการวิจัยสรุปได้ว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ สามารถนําไปใช้ในการเรียนการ สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

บทคัดย่อ

The purposes of this research were to 1) develop a computer assisted instruction program entitled Information and Communication Technology on the occupation and technology learning content group for Mathayomsuksa V student; the basic requirement of the program is 80/80 , and 2) compare the result of teaching by the computer assisted instruction program with the conventional method. The research sample were 35 Mathayomsuksa V Student who were studying in the second semester, 2010 academic year at Jantara Witthaya school, Khet Khlong San, Bangkok. The research instruments consist of computer assisted instruction program, and pretest and the achievement test. The collected data were statistically analyzed by percentage, mean score, standard deviation, and t-test. The findings revealed as follows: 1. The computer assisted instruction program entitle Information and Communication Technology was 82/81 which established criteria of 80/80 as already hypothesized. 2. The difference between the experimental group and the conventional group was significant at .01 level. The resulted also indicated that the computer assisted instruction program could be used effectively for teaching and learning.

ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน

อำนวย เดชชัยศรี
ศักดิ์คเรศ ประกอบผลอ

วันที่ ปีที่จัดพิมพ์

2554

วันที่ผลิต วันที่จัดทำ

2021-08-09 06:57:07

วันที่ปรับปรุงข้อมูล

2021-08-09 06:57:07

ประเภท

thesis

รูปแบบ

application/pdf

แหล่งที่มา

วน 371.334 น276ก 2554

ภาษา

tha

รหัส

ลิขสิทธิ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Degree (name, level, descipline, grantor)

ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

วันที่ใช้งาน

2554

คอลเลกชั่น

นฤมล คงกำเหนิด . (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 28, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1322

นำออกข้อมูล :