การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ
Item
ชื่อเรือง
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ
ชื่อเรื่องรอง
Participation of elderly in health promtion activitiies: a case study of Ruam Kan Community
ผู้แต่ง
เบญจรงค์ บุญอนุวัฒน์
หัวเรื่อง
สุขภาพและอนามัย
การส่งเสริมสุขภาพ
บริการชุมชน
ผู้สูงอายุ
รายละเอียดอื่นๆ
การศึกษาเรื่องการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ : ศึกษาเฉพาะกรณี
ชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้
1. เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ
2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ (Survvy Reseach) โดยประชากรที่นำมาใช้ใน การศึกษาเป็นผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 225 คน สถิติที่ใช้ในการเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ (Perccntage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าไคสแควร์ (Chi-Square)
ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้ว พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมในการลงทุนและปฏิบัติมากที่สุด รองลงมาคือ การประสานงานขอความร่วมมือ การค้นหาปัญหาและสาเหตุ การติดตามและประเมินผล และการวางแผนและการดำเนินงานอยู่ในลำดับน้อยที่สุด ปัจจัยภายใน ได้แก่ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ตำแหน่งในชุมชน และ เจตคติเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ มีผลต่อการมิส่วนร่วมใน กิจกรรมส่งเริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ เพศ และอายุ ไม่มีผลต่อการมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
ชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้
1. เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ
2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ (Survvy Reseach) โดยประชากรที่นำมาใช้ใน การศึกษาเป็นผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 225 คน สถิติที่ใช้ในการเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ (Perccntage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าไคสแควร์ (Chi-Square)
ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้ว พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมในการลงทุนและปฏิบัติมากที่สุด รองลงมาคือ การประสานงานขอความร่วมมือ การค้นหาปัญหาและสาเหตุ การติดตามและประเมินผล และการวางแผนและการดำเนินงานอยู่ในลำดับน้อยที่สุด ปัจจัยภายใน ได้แก่ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ตำแหน่งในชุมชน และ เจตคติเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ มีผลต่อการมิส่วนร่วมใน กิจกรรมส่งเริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ เพศ และอายุ ไม่มีผลต่อการมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
เอื้อมพร เธียรหิรัญ
นงลักษณ์ เทพสวัสดิ์
ทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2549
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 613.0438 บ786ก 2549
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2549
คอลเลกชั่น
เบญจรงค์ บุญอนุวัฒน์ . (2549). การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 29, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1233