การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชื่อเรื่องรอง
Development of creative writing through Thai skill drill exercises for prathom suksa 5
ผู้แต่ง
สุฐิรา โพธิ์เย็น
หัวเรื่อง
ภาษาไทย-- การเขียน
การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อเปรียบเทียบการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองเตยวิทยา โดยใช้หลักความคิดสร้างสรรค์ของกิลฟอร์ด ซึ่งประกอบด้วยความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอียดลออ และปรัชญาการศึกษาพัฒนาการนิยม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทักษะการเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว
พร้อมกับเกิดการพัฒนาทักษะทางด้านการเขีนเชิงสร้างสรรค์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การทดลองการพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 38 คน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (Mean)
ผลการวิจัยพบว่า
การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย หลังการทคลองใช้มีคะแนนเฉลี่ย( 4 ) เท่ากับ 32.03 สูงกว่าก่อนการทดลองซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย ( 4 ) เท่ากับ 19. 18 แสดงถึงคุณภาพของแบบฝึกทักษะที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนสูงขึ้น
เพื่อเปรียบเทียบการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองเตยวิทยา โดยใช้หลักความคิดสร้างสรรค์ของกิลฟอร์ด ซึ่งประกอบด้วยความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอียดลออ และปรัชญาการศึกษาพัฒนาการนิยม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทักษะการเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว
พร้อมกับเกิดการพัฒนาทักษะทางด้านการเขีนเชิงสร้างสรรค์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การทดลองการพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 38 คน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (Mean)
ผลการวิจัยพบว่า
การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย หลังการทคลองใช้มีคะแนนเฉลี่ย( 4 ) เท่ากับ 32.03 สูงกว่าก่อนการทดลองซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย ( 4 ) เท่ากับ 19. 18 แสดงถึงคุณภาพของแบบฝึกทักษะที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนสูงขึ้น
บทคัดย่อ
The objective of this research was to compare writing through Thai skill drill exercises for Pratom Suksa 5 Khlongtoeywittaya School based on Gilford's Theory which included originality, fluency, flexibility, elaboration, and progressivism. The research adopted one group pretest-posttest design.
The sample group of 38 students were obtained through purposive sampling. Data were statistically analyzed in percentage and mean score.
The finding revealed that creative writing through Thai skill drill exercises contributed to posttest result of 32.03 higher than pretest result of 19.18.
The sample group of 38 students were obtained through purposive sampling. Data were statistically analyzed in percentage and mean score.
The finding revealed that creative writing through Thai skill drill exercises contributed to posttest result of 32.03 higher than pretest result of 19.18.
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
สุพิศวง ธรรมพันท
อัควิทย์ เรื่องรอง
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2551
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
วันที่เผยแพร่
2022-10-06
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.6044 ส763ก 2551
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตร์มหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2551
คอลเลกชั่น
สุฐิรา โพธิ์เย็น .การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 29, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1230