แนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1
Item
ชื่อเรือง
แนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1
ชื่อเรื่องรอง
An approach to the development of internal supervision of primary schools in Kamphaengsean districtunder Nakhonpathom educational service office area 1
ผู้แต่ง
อำไพ ลิ้มประสาท
หัวเรื่อง
การนิเทศการศึกษา
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาสภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1
2) ศึกษาปัญหาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1
3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร และ ครูโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 จำนวน 276 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยพบว่า
1. สภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอกำแพงแสน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าการพัฒนาบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือการให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากลุ่ม และการวิจัยในชั้นเรียนตามลำดับ
2. ปัญหาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าปัญหาการวิจัยในชั้นเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ การให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาบุคลากรและการพัฒนากลุ่มตามลำดับ
3. แนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 ประกอบด้วย
1) ควรมีการจัดอบรมเพิ่มความรู้แก่ครู เกี่ยวกับเทคนิคการสอนการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และการผลิตสื่อการเรียนรู้
2) ควรจัดอบรมพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำกระบวนการทำงานร่วมกันมาใช้
3) ควรจัดการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เช่น ส่งไปรับการอบรม การไปศึกษาดูงาน การศึกษาต่อ
4) ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และ การนำหลักสูตรไปใช้ในห้องเรียน
5) ควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
1) ศึกษาสภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1
2) ศึกษาปัญหาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1
3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร และ ครูโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 จำนวน 276 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยพบว่า
1. สภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอกำแพงแสน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าการพัฒนาบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือการให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากลุ่ม และการวิจัยในชั้นเรียนตามลำดับ
2. ปัญหาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าปัญหาการวิจัยในชั้นเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ การให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาบุคลากรและการพัฒนากลุ่มตามลำดับ
3. แนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 ประกอบด้วย
1) ควรมีการจัดอบรมเพิ่มความรู้แก่ครู เกี่ยวกับเทคนิคการสอนการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และการผลิตสื่อการเรียนรู้
2) ควรจัดอบรมพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำกระบวนการทำงานร่วมกันมาใช้
3) ควรจัดการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เช่น ส่งไปรับการอบรม การไปศึกษาดูงาน การศึกษาต่อ
4) ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และ การนำหลักสูตรไปใช้ในห้องเรียน
5) ควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
บทคัดย่อ
The purposes of this research were to study the states, problems, and an approach to development of internal supervision of primary schools in Kamphaengsaen District under Nakhonpathom Educational Service Office Area 1. The sample group included 276 school administrators and teachers. The instrument was 5-point rating scale questionnaire and checklist. The data were statistically analyzed in percentage, mean score, and standard deviation.
The results indicated that the state of internal supervision of primary schools in Kamphaengsaen District under Nakhonpathom Educational Service Office Area I was generally at the high level. After item analysis, all of tem could be rearranged by mean score in descending order as follows: personnel development, direct assistance to teachers, curriculum development. group development, and classroom action research. The problems were generally found at the low level. After item analysis, all of tem could be rearranged by mean score in descending order as follows: classroom action research, direct assistance to teachers, curriculum development, personnel development, and group development. An approach to development of internal supervision was suggested to provide training program pertaining to lesson plan design and media production; team working and its processes; permission to attend seminar, technical visit, or further study; implementation of educational institute curriculum and its application and workshop on classroom action research.
The results indicated that the state of internal supervision of primary schools in Kamphaengsaen District under Nakhonpathom Educational Service Office Area I was generally at the high level. After item analysis, all of tem could be rearranged by mean score in descending order as follows: personnel development, direct assistance to teachers, curriculum development. group development, and classroom action research. The problems were generally found at the low level. After item analysis, all of tem could be rearranged by mean score in descending order as follows: classroom action research, direct assistance to teachers, curriculum development, personnel development, and group development. An approach to development of internal supervision was suggested to provide training program pertaining to lesson plan design and media production; team working and its processes; permission to attend seminar, technical visit, or further study; implementation of educational institute curriculum and its application and workshop on classroom action research.
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
สมหมาย มหาบรรพต
วิเชียร อินทรสมพันธ์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2551
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2566-01-13
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2566-01-13
วันที่เผยแพร่
2566-01-13
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 371.203 อ696น 2551
ภาษา
tha
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาตรมหาบ้ณฑิต
ปริญญาโท
การบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2551
คอลเลกชั่น
อำไพ ลิ้มประสาท .แนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอกำแพงแสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed December 29, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/library/item/1219