เหลียวมอง…ชุมชนบางไส้ไก่ (หมู่บ้านลาว) ตอนที่ 2 ขลุ่ยบ้านลาว
Item
ชื่อเรื่อง
เหลียวมอง…ชุมชนบางไส้ไก่ (หมู่บ้านลาว) ตอนที่ 2 ขลุ่ยบ้านลาว
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประเภท
บทความ
ผู้แต่ง
จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์
วันที่
2567-02-15
รายละเอียด
ขลุ่ยบ้านลาว การสืบสานวัฒนธรรมการทําขลุ่ย
ชุมชนบางไส้ไก่บ้านสมเด็จ (หมู่บ้านลาว) อาจไม่ใช่เป็นแหล่งทําขลุ่ยแห่งเดียวในประเทศไทย สันนิษฐานว่ายังมีชุมชนอื่น ๆ ที่ทําขลุ่ยเหมือนกับหมู่บ้านลาว ที่เป็นกลุ่มชนชาวลาวที่อพยพมาจากนครเวียงจันทน์ด้วยกัน เมื่อครั้งสมัยพระเจ้าตากสินแห่งกรุงธนบุรี และสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ซึ่งได้กระจัดกระจายแยกย้ายกันไปตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในจังหวัดต่าง ๆ ทางภาคกลาง และภาคอีสานของไทยนั่นเอง ปัจจุบันนี้ยังเหลือบ้านที่ทําขลุ่ยมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นลูกหลานของช่างทําขลุ่ยดั้งเดิมเกือบทั้งสิ้น ได้แก่
บ้านขลุ่ยอิ่มบุปผา คุณอุทิศ อิ่มบุปผา
บ้านคุณดารารัตน์ เทศทอง
บ้านขลุ่ยประสงค์ คุณเพิ่มสุข สอนวิทย์
บ้านขลุ่ยทวีผล คุณทวีผล สอนวิทย์
บ้านขลุ่ยร้านชลิต คุณชลิต มารศรี
บ้านขลุ่ยบ้านลาว คุณสุนัย กลิ่นบุปผา
ร้านขลุ่ยลุงจรินทร์ คุณนิตยา รู้เจียมสิน
บ้านขลุ่ยมงคล คุณพรรณธิภา พุทธรักษ์
สิ่งที่น่าภาคภูมิใจอย่างยิ่งของขลุ่ยบ้านลาวถือได้ว่าเป็นขลุ่ยที่มีคุณภาพชั้นดี มีความประณีต และมีเสียงที่ไพเราะจนเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งยังมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นไม่เหมือนใครคือ ขลุ่ยไม้ลวกที่มีลวดลาย ที่เรียกว่า “ขลุ่ยลายไม้ไผ่ลายดอก” และขลุ่ยไม้ลวกที่ไม่มีลวดลายซึ่งเป็นลวดลายที่เกิดจากธรรมชาติของไม้ลวกนั่นเอง
ที่มา : จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์. (2565,1 มีนาคม). เหลียวมอง…ชุมชนบางไส้ไก่ (หมู่บ้านลาว) . https://medium.com/@jirapornnoosawas/(หลียวมอง-ชุมชนบางใส้ไก่-หมู่บ้านลาว-ตอนที่-2-ขลุ่ยบ้านลาว-9674d92a91af
ชุมชนบางไส้ไก่บ้านสมเด็จ (หมู่บ้านลาว) อาจไม่ใช่เป็นแหล่งทําขลุ่ยแห่งเดียวในประเทศไทย สันนิษฐานว่ายังมีชุมชนอื่น ๆ ที่ทําขลุ่ยเหมือนกับหมู่บ้านลาว ที่เป็นกลุ่มชนชาวลาวที่อพยพมาจากนครเวียงจันทน์ด้วยกัน เมื่อครั้งสมัยพระเจ้าตากสินแห่งกรุงธนบุรี และสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ซึ่งได้กระจัดกระจายแยกย้ายกันไปตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในจังหวัดต่าง ๆ ทางภาคกลาง และภาคอีสานของไทยนั่นเอง ปัจจุบันนี้ยังเหลือบ้านที่ทําขลุ่ยมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นลูกหลานของช่างทําขลุ่ยดั้งเดิมเกือบทั้งสิ้น ได้แก่
บ้านขลุ่ยอิ่มบุปผา คุณอุทิศ อิ่มบุปผา
บ้านคุณดารารัตน์ เทศทอง
บ้านขลุ่ยประสงค์ คุณเพิ่มสุข สอนวิทย์
บ้านขลุ่ยทวีผล คุณทวีผล สอนวิทย์
บ้านขลุ่ยร้านชลิต คุณชลิต มารศรี
บ้านขลุ่ยบ้านลาว คุณสุนัย กลิ่นบุปผา
ร้านขลุ่ยลุงจรินทร์ คุณนิตยา รู้เจียมสิน
บ้านขลุ่ยมงคล คุณพรรณธิภา พุทธรักษ์
สิ่งที่น่าภาคภูมิใจอย่างยิ่งของขลุ่ยบ้านลาวถือได้ว่าเป็นขลุ่ยที่มีคุณภาพชั้นดี มีความประณีต และมีเสียงที่ไพเราะจนเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งยังมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นไม่เหมือนใครคือ ขลุ่ยไม้ลวกที่มีลวดลาย ที่เรียกว่า “ขลุ่ยลายไม้ไผ่ลายดอก” และขลุ่ยไม้ลวกที่ไม่มีลวดลายซึ่งเป็นลวดลายที่เกิดจากธรรมชาติของไม้ลวกนั่นเอง
ที่มา : จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์. (2565,1 มีนาคม). เหลียวมอง…ชุมชนบางไส้ไก่ (หมู่บ้านลาว) . https://medium.com/@jirapornnoosawas/(หลียวมอง-ชุมชนบางใส้ไก่-หมู่บ้านลาว-ตอนที่-2-ขลุ่ยบ้านลาว-9674d92a91af
รูปแบบ
application/pdf
ภาษา
tha
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวเรื่อง
ขลุ่ย
ขลุ่ยบ้านลาว
ชุมชนบ้านลาว
ชุมชนวัดบางไส้ไก่
บางไส้ไก่บ้านสมเด็จฯ
ชุมชนหัตถกรรม
คอลเลกชั่น
จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์, “เหลียวมอง…ชุมชนบางไส้ไก่ (หมู่บ้านลาว) ตอนที่ 2 ขลุ่ยบ้านลาว”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2567-02-15, คลังข้อมูลประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed December 23, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/information/item/2832