สมเด็จพระสังมราช(แพ ดิสูสโทโว)
Item
ชื่อเรื่อง
สมเด็จพระสังมราช(แพ ดิสูสโทโว)
วันที่
2566-02-13
รายละเอียด
สมเด็จพระสังมราช(แพ ดิสูสโทโว)
สมเด็จพระสังพราช พระองค์ที่ ๑๒ แห่งกรุงรัดนไกสินทร์
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ สสเทโว) พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๘๗
ท่านมีพระนามเดิมว่า "แพ พงษ์ปาละ" พระนามฉายาว่า "ติสฺสเทโว" ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน ๑๒
ขึ้น ๑๕ ค่ำ ปีมะโรง จุลศักราช ๑๒๑๘ ตรงกับวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๓๙๙ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เป็นบุตรคนที่ ๒ ของนายบุตร์กับนางอ้น พงษ์ป่าละ เป็นชาวสวน ตำบลบางลำพูล่าง อำเภอคลองสาน จังหวัดธนบุรี มีพี่น้องรวมทั้งหมด ๗ คน
เมื่อพระชนมายุได้ ๗ ขวบ ทรงเริ่มศึกษาอักขระครั้งแรกที่วัดทองนพคุณ เนื่องจากโยมบิดาเลื่อมใส ในสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) ต่อมาเมื่อสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) เลื่อนสมณศักดิ์เป็นที่พระธรรมวโรดม ย้ายไปครองวัดราชบูรณะราชวรวิหาร (วัดเลียบ) ขณะนั้นพระชนมายุได้ ๑๓ ปี โยมบิดาจึงพาไปถวาย เป็นศิษย์สมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) ท่านจึงได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๑ และกลับไปเล่าเรียน อยู่วัดทองนพคุณตามเดิม นอกจากนี้ยังได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระอาจารย์โพ วัดเศวตฉัตร ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อพระชนมายุได้ ๑๖ ปี สมเด็จวันรัตน (สมบูรณ์) ให้ไปรับมาอยู่กับท่านที่ วัดพระเชตุพน เพราะท่านได้มาอยู่ที่วัดนั้น ได้เล่าเรียนพระปริยัติธรรมกับสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) เป็น พื้น นอกจากนั้นได้ทรงเล่าเรียนกับเสมียนตราสุขบ้าง พระโหราธิบดี (ชุ่ม) วัดทองนพคุณบ้าง พระอาจารย์โพ วัดเศวตฉัตรบ้าง ได้เข้าสอบพระปริยัติธรรมเป็นครั้งแรกที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๙ แต่แปลตก
หาได้เป็นเปรียญในปีนั้นไม่ เมื่อพระชนมายุครบอุปสมบท ในปี พ.ศ. ๒๔๑๙ แต่ประจวบว่าในขณะนั้น สมเด็จพระวันรัตนสมบูรณ์) พระอาจารย์อาพาธ ต้องอยู่ประจำเพื่อพยาบาล จึงยังมิได้มีโอกาสอุปสมบท และเมื่อสมเด็จพระวันตน (สมบูรณ์) ใกล้ถึงมรณภาพนั้น ท่านแนะนำให้ไปอยู่เป็นศิษย์ สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑูฒโน) วัดสุทัศน์ แต่ครั้งยังเป็นพระเทพกวี ครั้นสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) มรณภาพแล้ว จึงได้ไปถวายตัวเป็นศิษย์สมเด็จพระวันรัต(แดง) แล้วอุปสมบทที่วัดเศวตฉัตร อันเป็นวัตใกล้บ้านเกิดและสำนักเรียนเดิม เมื่อปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๒๒ โดย มี สมเด็จพระวันรัตน (แดง) วัดสุทัศน์ แต่ครั้งยังเป็นพระธรรมวโรตม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระโหราธิบดี (ชุ่ม) วัดทองนพคุณ และ พระอาจารย์โพ วัดเศวตฉัตร เป็นคู่พระกรรมวาจาจารย์ แล้วมาอยู่ที่วัตสุทัศน์กับสมเด็จ พระวันรัตน (แดง) ต่อมา ในตอนนี้ได้เล่าเรียนกับสมเด็จพระวันรัตน (แดง) เป็นพื้น และได้ไปเรียนกับ สมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราชประดิษฐ์ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์บ้าง เมื่อสมเด็จพระวัน รัตน (แตง) ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระธรรมวโรดม ได้ตั้งให้ท่านเป็นพระครูใบฎีกาในฐานานุกรมต่ำแหน่งนั้น แล้วเลื่อนเป็นพระครูวินัยธรโดยลำดับ ขณะเมื่อทรงเป็นพระครูวินัยธรได้เข้าแปลพระปริยัติธรรมเป็นครั้งที่ ๒ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๒๕ ได้เป็นเปรียญ ๔ ประโยค ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๒๘ เข้าแปลพระปริยัติธรรมอีกเป็นครั้งที่ ๓ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แปลได้อีกประโยคหนึ่งรวมเป็น ๕ ประโยค ถึงปีฉลู พ.ศ. ๒๔๓๒ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่พระศรีสมโพธิ์ ครั้นถึงปีวอก พุทธศักราช ๒๔๓๙ อันเป็นวันในรัชกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครบหมื่นวันแห่งการ เสวยราชย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นเสมอพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามเดิม พระราชทานตาลิปัตรแฉกประตับพลอยและเพิ่มนิตยภัต ในคราวเดียวกันกับที่ได้โปรตเกล้าฯ ให้พระธรรม วโรดม (แสง) วัดราชบูรณะราชวรวิหาร (วัดเสียบ) เป็น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๔๑ ทรง ตั้งเป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่พระเทพโมลี ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสื่อนสมณศักดิ์ เป็นที่พระธรรมโกศาจารย์ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ พระราชทานหิรัญบัฏ ทรงเลื่อน สมณศักดิ์เป็นที่พระพรหมมุนี เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงได้รับพระราชทานสุพรรณบัฎเสื่อน สมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ ครั้นในปี พ.ศ. ๒๔๘ เมื่อสมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบฟิธ สันพระชนม์ลง พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีจารีกใปพระสุพรรณบัฏดังนี้ "คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวๆ จึงให้เฉลิมพระนาม สมเด็จพระสังฆร้าชตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมวิธานดำรงสกลสังฆ ปริณายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส อานันทมหาราชพุทธมามกาจารย์ ติสสเทวาภิธานสังฆวิสุตปาวจนฺตตม โศภณวิมลศิลสมาจารวัตร พุทธศาส์นิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒคุณ อดุลคัมภีรญานสุนทร บวรสังยารามคามวาสี อรัญญวาสี เสด็จสถิต ณ วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร อารามหลวง" วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘ พระองค์ทรงพระประชวรด้วยโรคชรา และเสด็จดับขันธ์ สิ้นพระชนม์ลงเมื่อเวลา ๑๓.๐๐ น. ที่ตำหนักวัดสุทัศนเทพวราราม สิริพระขนมายุ ๘๙ พรรษา
ที่มา : สำนักงานเขตคลองสาน. (๒๕๕๔).สมเด็จพระสังมราช(แพ ดิสูสโทโว). ใน สมโภช ๑๐๐ ปี เขตคลองสาน. (น. ๑๑๐- ๑๑๑). ม.ป.พ.
สมเด็จพระสังพราช พระองค์ที่ ๑๒ แห่งกรุงรัดนไกสินทร์
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ สสเทโว) พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๘๗
ท่านมีพระนามเดิมว่า "แพ พงษ์ปาละ" พระนามฉายาว่า "ติสฺสเทโว" ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน ๑๒
ขึ้น ๑๕ ค่ำ ปีมะโรง จุลศักราช ๑๒๑๘ ตรงกับวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๓๙๙ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เป็นบุตรคนที่ ๒ ของนายบุตร์กับนางอ้น พงษ์ป่าละ เป็นชาวสวน ตำบลบางลำพูล่าง อำเภอคลองสาน จังหวัดธนบุรี มีพี่น้องรวมทั้งหมด ๗ คน
เมื่อพระชนมายุได้ ๗ ขวบ ทรงเริ่มศึกษาอักขระครั้งแรกที่วัดทองนพคุณ เนื่องจากโยมบิดาเลื่อมใส ในสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) ต่อมาเมื่อสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) เลื่อนสมณศักดิ์เป็นที่พระธรรมวโรดม ย้ายไปครองวัดราชบูรณะราชวรวิหาร (วัดเลียบ) ขณะนั้นพระชนมายุได้ ๑๓ ปี โยมบิดาจึงพาไปถวาย เป็นศิษย์สมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) ท่านจึงได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๑ และกลับไปเล่าเรียน อยู่วัดทองนพคุณตามเดิม นอกจากนี้ยังได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระอาจารย์โพ วัดเศวตฉัตร ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อพระชนมายุได้ ๑๖ ปี สมเด็จวันรัตน (สมบูรณ์) ให้ไปรับมาอยู่กับท่านที่ วัดพระเชตุพน เพราะท่านได้มาอยู่ที่วัดนั้น ได้เล่าเรียนพระปริยัติธรรมกับสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) เป็น พื้น นอกจากนั้นได้ทรงเล่าเรียนกับเสมียนตราสุขบ้าง พระโหราธิบดี (ชุ่ม) วัดทองนพคุณบ้าง พระอาจารย์โพ วัดเศวตฉัตรบ้าง ได้เข้าสอบพระปริยัติธรรมเป็นครั้งแรกที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๙ แต่แปลตก
หาได้เป็นเปรียญในปีนั้นไม่ เมื่อพระชนมายุครบอุปสมบท ในปี พ.ศ. ๒๔๑๙ แต่ประจวบว่าในขณะนั้น สมเด็จพระวันรัตนสมบูรณ์) พระอาจารย์อาพาธ ต้องอยู่ประจำเพื่อพยาบาล จึงยังมิได้มีโอกาสอุปสมบท และเมื่อสมเด็จพระวันตน (สมบูรณ์) ใกล้ถึงมรณภาพนั้น ท่านแนะนำให้ไปอยู่เป็นศิษย์ สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑูฒโน) วัดสุทัศน์ แต่ครั้งยังเป็นพระเทพกวี ครั้นสมเด็จพระวันรัตน (สมบูรณ์) มรณภาพแล้ว จึงได้ไปถวายตัวเป็นศิษย์สมเด็จพระวันรัต(แดง) แล้วอุปสมบทที่วัดเศวตฉัตร อันเป็นวัตใกล้บ้านเกิดและสำนักเรียนเดิม เมื่อปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๒๒ โดย มี สมเด็จพระวันรัตน (แดง) วัดสุทัศน์ แต่ครั้งยังเป็นพระธรรมวโรตม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระโหราธิบดี (ชุ่ม) วัดทองนพคุณ และ พระอาจารย์โพ วัดเศวตฉัตร เป็นคู่พระกรรมวาจาจารย์ แล้วมาอยู่ที่วัตสุทัศน์กับสมเด็จ พระวันรัตน (แดง) ต่อมา ในตอนนี้ได้เล่าเรียนกับสมเด็จพระวันรัตน (แดง) เป็นพื้น และได้ไปเรียนกับ สมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราชประดิษฐ์ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์บ้าง เมื่อสมเด็จพระวัน รัตน (แตง) ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระธรรมวโรดม ได้ตั้งให้ท่านเป็นพระครูใบฎีกาในฐานานุกรมต่ำแหน่งนั้น แล้วเลื่อนเป็นพระครูวินัยธรโดยลำดับ ขณะเมื่อทรงเป็นพระครูวินัยธรได้เข้าแปลพระปริยัติธรรมเป็นครั้งที่ ๒ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๒๕ ได้เป็นเปรียญ ๔ ประโยค ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๒๘ เข้าแปลพระปริยัติธรรมอีกเป็นครั้งที่ ๓ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แปลได้อีกประโยคหนึ่งรวมเป็น ๕ ประโยค ถึงปีฉลู พ.ศ. ๒๔๓๒ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่พระศรีสมโพธิ์ ครั้นถึงปีวอก พุทธศักราช ๒๔๓๙ อันเป็นวันในรัชกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครบหมื่นวันแห่งการ เสวยราชย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นเสมอพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามเดิม พระราชทานตาลิปัตรแฉกประตับพลอยและเพิ่มนิตยภัต ในคราวเดียวกันกับที่ได้โปรตเกล้าฯ ให้พระธรรม วโรดม (แสง) วัดราชบูรณะราชวรวิหาร (วัดเสียบ) เป็น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๔๑ ทรง ตั้งเป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่พระเทพโมลี ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสื่อนสมณศักดิ์ เป็นที่พระธรรมโกศาจารย์ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ พระราชทานหิรัญบัฏ ทรงเลื่อน สมณศักดิ์เป็นที่พระพรหมมุนี เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงได้รับพระราชทานสุพรรณบัฎเสื่อน สมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ ครั้นในปี พ.ศ. ๒๔๘ เมื่อสมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบฟิธ สันพระชนม์ลง พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีจารีกใปพระสุพรรณบัฏดังนี้ "คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวๆ จึงให้เฉลิมพระนาม สมเด็จพระสังฆร้าชตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมวิธานดำรงสกลสังฆ ปริณายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส อานันทมหาราชพุทธมามกาจารย์ ติสสเทวาภิธานสังฆวิสุตปาวจนฺตตม โศภณวิมลศิลสมาจารวัตร พุทธศาส์นิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒคุณ อดุลคัมภีรญานสุนทร บวรสังยารามคามวาสี อรัญญวาสี เสด็จสถิต ณ วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร อารามหลวง" วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘ พระองค์ทรงพระประชวรด้วยโรคชรา และเสด็จดับขันธ์ สิ้นพระชนม์ลงเมื่อเวลา ๑๓.๐๐ น. ที่ตำหนักวัดสุทัศนเทพวราราม สิริพระขนมายุ ๘๙ พรรษา
ที่มา : สำนักงานเขตคลองสาน. (๒๕๕๔).สมเด็จพระสังมราช(แพ ดิสูสโทโว). ใน สมโภช ๑๐๐ ปี เขตคลองสาน. (น. ๑๑๐- ๑๑๑). ม.ป.พ.
รูปแบบ
application/pdf
ภาษา
tha
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวเรื่อง
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ สสเทโว)
บุคคลสำคัญ
คอลเลกชั่น
“สมเด็จพระสังมราช(แพ ดิสูสโทโว)”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2566-02-13, คลังข้อมูลประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed December 24, 2024, http://dlib.bsru.ac.th/s/information/item/2628